ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๗
แปล โดยพยัญชนะ
(กุมารกสฺสปตฺเถรมาตุ ภาค ๖ หน้า ๑๒ – ๑๓)
๑. เถโร รญฺโญ ปุรโต วิสาขํ ปกฺโกสาเปตฺวา ตํ อธิกรณํ ปฏิจฺฉาเปสิ ฯ สา สาณิปฺปาการํ ปริกขิปาเปตฺวา อนฺโตสาณิยํ ตสฺสา หตฺถปาทนาภิอุทรปริโยสานานิ โอโลเกตฺวา มาสทิวเส มาเนตฺวา คิหิภาเว อิมาย คพฺโภ ลทฺโธติ ญตฺวา เถรสฺส ตมตฺถํ อาโรเจสิฯ อถสฺสา เถโร ปริสมชฺเฌ ปริสุทธภาวํ ปติฏฺฐาเปสิ ฯ สา อปเรน สมเยน ปทุมุตฺตรพุทธปาทมูเล ปติฏฺฐิตปฺปตฺถนํ มหานุภาวํ ปุตฺตํ วิชายิฯ
อเถกทิวสํ ราชา ภิกฺขุนีอุปสฺสยสมีเป คจฺฉนฺโต ทารกสทฺทํ สุตวา กึ อิทนฺติ ปุจฺฉิตฺวา เทว เอติสฺสา ภิกฺขุนิยา ปุตฺโต ชาโต ตสฺเสส สทฺโทติ วุตฺเต ตํ กุมารํ อตฺตโน ฆรํ เนตฺวา ธาตีนํ อทาสิ ฯ นามคฺคหณทิวเส จสฺส กสฺสโปติ นามํ กตฺวา กุมารปริหาเรน วฑฺฒิตตฺตา กุมารกสฺสโปติ สญฺชานึสุ ฯ โส ราชานํ อุปสฺงกมิตฺวา เทว มํ นิมฺมาตาปิติโกติ วทนฺติ มาตรํ เม อาจิกฺขถาติ ปุจฺฉิตฺวา รญฺญา ธาติโย ทสฺเสตฺวา อิมา เต มาตโรติ วุตุเต น เอตฺตกา มม มาตโร เอกาย เม มาตรา ภวิตพฺพํ ตํ เม อาจิกฺขถาติ อาห ฯ ราชา น สกฺกา อิมํ วญฺเจตุนฺติ จินเตตฺวา ตาต ตว มาตา ภิกขุนี ตฺวํ มยา ภิกขุนีอุปสฺสยา อานีโตติ ฯ โส ตาวตเกเนว สมุปฺปนฺนสํเวโค หุตฺวา ตาต ปพฺพาเชถ มนฺติ อาห ฯ ราชา สาธุ ตาตาติ ตํ มหนฺเตน สกฺกาเรน สตฺถุ สนฺติเก ปพฺพาเชสิ ฯ
แปลโดยอรรถ
(กุมารกสฺสปตฺเถรมาตุ ภาค ๖ หน้า ๑๔)
๒. ตสฺส ปน นิกฺขนฺตทิวสโต ปฏฺฐาย ทฺวาทส วสฺสานิ มาตุ ภิกฺขุนิยา อกฺขีหิ อสฺสูนิ ปวตฺตยึสุ ฯ สา ปุตฺตวิโยคทุกฺขิตา อสฺสุตินฺเตเนว มุเขน ภิกฺขาย จรมานา อนฺตรวีถิยํ เถรํ ทิสฺวา ว ปุตฺต ปุตฺตาติ วิรวนฺตี ตํ คณฺหิตุํ อุปธาวมานา ปวตฺติตฺวา ปติ ฯ สา กเนหิ ขีรํ มุญฺจนฺเตหิ อุฏฺฐหิตฺวา อลฺลจีวรา คนฺตฺวา เถรํ คณฺหิ ฯ โส จินฺเตสิ สจายํ มม สนฺติกา มธุรวจนํ ลภิสฺสติ วินสฺสิสฺสติ ถทฺธเมว กตฺวา อิมาย สทฺธึ สลฺลปิสฺสามีติ ฯ ถน นํ อาห กึ กโรนฺตี วิจรสิ สิเนหมตฺตํปิ ฉินฺทิตุํ น สกฺโกสีติ ฯ สา อโห กกฺขฬา เถรสฺส กถาติ จินฺเตตฺวา กึ วเทสิ ตาตาติ วตฺวา ปุนปิ ตเถว วุตฺตา จินฺเตสิ อหํ อิมสฺส การณา ทฺวาทส วสฺสานิ อสฺสูนิ นิวาเรตุํ น สกฺโกมิ อยํ ปน เม อิมสฺส การณา ทฺวาทส วสฺสานิ อสฺสูนิ นิวาเรตุํ น สกฺโกมิ อยํ ปน เม ถทฺธหทโย กึ เม อิมินาติ ปุตฺตสิเนหํ ฉินฺทิตฺวา ตํทิวสเมว อรหตฺตํ ปาปุณิ ฯ
อปเรน สมเยน ธมฺมสภายํ กถํ สมุฏฺฐาเปสุํ อาวุโส เทวทตฺเตน เอวํ อุปนิสฺสายสมฺปนฺโน กุมารกสฺสโป จ เถรี จ นาสิตา สตฺถา ปน เตสํ ปติฏฺฐา ชาโต อโห พุทฺธา นาม โลกานุกมฺปกาติ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ.๓
แปลโดยพยัญชนะ
๑. อ.พระเถระ ยังบุคคลให้เรียกมาแล้ว ซึ่งนางวิสาขา ยังนางวิสาขานั้น ให้สอบสวนแล้ว ซึ่งอธิกรณ์ ข้างพระพักตร์ ของพระราชา ฯ อ.นางวิสาขานั้น ยังบุคคลให้ล้อมแล้ว ซึ่งกําแพงคือม่าน ตรวจดูแล้ว ซึ่งมือและเท้าและสะดือและที่สุดรอบแห่งท้อง ท. ของนางภิกษุณีสาวนั้น ในภายในแห่งม่าน นับแล้ว ซึ่งเดือนและวัน ท. รู้แล้วว่า อ.สัตว์ผู้เกิดแล้วในครรภ์ อันนางภิกษุณีสาวนี้ ได้แล้ว ในความเป็นแห่งคฤหัสถ์ ดังนี้ บอกแจ้งแล้ว ซึ่งเนื้อความนั้น แก่พระเถระ ฯ ครั้งนั้น อ.พระเถระ ยังความที่แห่งนางภิกษุณีสาวนั้นเป็นผู้หมดจดรอบแล้ว ให้ตั้งอยู่เฉพาะแล้ว ในท่ามกลางแห่งบริษัท ฯ โดยสมัยอื่นอีก อ.นางภิกษุณีสาวนั้น คลอดแล้ว ซึ่งบุตรผู้มีอานุภาพใหญ่ ผู้มีความปรารถนาอันตั้งไว้เฉพาะแล้ว ณ ที่ใกล้แห่งพระบาทของพระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมุตตระ ฯ
ครั้งนั้น ในวันหนึ่ง อ.พระราชา เสด็จไปอยู่ ณ ที่ใกล้แห่งที่เป็นที่เข้าไปอาศัยแห่งนางภิกษุณี ทรงสดับแล้ว ซึ่งเสียงแห่งทารก ตรัสถามแล้วว่า อ.เสียงนี้ อะไร ดังนี้ ครั้นเมื่อคําว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ อ.บุตร ของนางภิกษุณี นั่น เกิดแล้ว อ.เสียงนั่น เป็นเสียง ของบุตรของนางภิกษุณี นั้น ย่อมเป็น ดังนี้ อันราชบุรุษ กราบทูลแล้ว ทรงนําไปแล้ว ซึ่งกุมารนั้น สู่วัง ของพระองค์ ได้พระราชทานแล้ว แก่หญิงแม่นม ท. ฯ ก็ ในวันเป็นที่ถือเอาซึ่งชื่อ อ.ชน ท. กระทําแล้ว ซึ่งคําว่า อ.กัสสปะ ดังนี้ ให้เป็นชื่อ ของกุมารนั้น รู้พร้อมแล้วว่า อ.กุมารกัสสปะ ดังนี้ เพราะความที่แห่งกุมารนั้น เป็นผู้เติบโตแล้ว ด้วยวัตถุเป็นเครื่องบริหารแห่งพระกุมาร ฯ อ.พระกุมารนั้น เข้าไปเฝ้าแล้ว ซึ่งพระราชา ทูลถามแล้วว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ อ.เด็ก ท. ย่อมกล่าวว่า อ.เด็กผู้มีมารดาและบิดาออกแล้ว ดังนี้ กะหม่อมฉัน อ.พระองค์ ขอจงตรัสบอก ซึ่งมารดา แก่หม่อมฉัน ดังนี้ ครั้นเมื่อพระดํารัสว่า อ.หญิง ท. เหล่านี้ เป็นมารดา ของเจ้า ย่อมเป็น ดังนี้ อันพระราชา ทรงแสดงแล้ว ซึ่งหญิงแม่นม ท. ตรัสแล้ว กราบทูลแล้วว่า อ.หญิง ท. ผู้มีประมาณเท่านี้ เป็นมารดา ของหม่อมฉัน ย่อมเป็น หามิได้ อันหญิงคนเดียว เป็นมารดา ของหม่อมฉัน พึงเป็น อ.พระองค์ ขอจงตรัสบอก ซึ่งมารดานั้น แก่หม่อมฉัน ดังนี้ ฯ อ.พระราชา ทรงดําริแล้วว่า อันเรา ไม่อาจ เพื่ออันลวง ซึ่งพระกุมารนี้ ดังนี้ ตรัสแล้วว่า ดูก่อนพ่อ อ.มารดา ของเจ้า เป็นนางภิกษุณี ย่อมเป็น อ.เจ้า อันเรา นํามาแล้ว จากที่เป็นที่เข้าไปอาศัยแห่งนางภิกษุณี ดังนี้ ฯ อ.พระกุมารนั้น เป็นผู้มีความสังเวชอันเกิดขึ้นพร้อมแล้ว ด้วยเหตุอันมีประมาณเพียงนั้นนั้นเทียว เป็น กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่เสด็จพ่อ อ.พระองค์ ขอจงทรงยังหม่อมฉัน ให้บวช ดังนี้ ฯ อ.พระราชา ทรงรับพร้อมเฉพาะแล้วว่า ดูก่อนพ่อ อ.ดีละ ดังนี้ทรงยังพระกุมารนั้น ให้บวชแล้ว ในสํานักของพระศาสดา ด้วยสักการะ อันใหญ่ ฯ
แปลโดยอรรถ
๒. ก็ตั้งแต่วันที่พระเถระนั้นออกไปแล้ว น้ำตาไหลออกจากนัยน์ตาทั้ง ๒ ของนางภิกษุณีผู้เป็นมารดาตลอดระยะเวลา ๑๒ ปี ฯ นางมีทุกข์เพราะพลัดพรากจากบุตร มีหน้าชุ่มไปด้วยน้าตาทีเดียว เที่ยวไปเพื่อภิกษา พอเห็นพระเถระในระหว่างถนนเท่านั้น จึงร้องว่า ลูก ลูก ดังนี้ วิ่งเข้าไปเพื่อจะจับพระเถระนั้น ซวนเซล้มลงแล้ว ฯ นางมีถันหลั่งน้ำนมอยู่จึงลุกขึ้น มีจีวรเปียกชุ่มไปแล้วจับพระเถระ ฯ พระเถระนั้นคิดว่าถ้ามารดานี้จักได้ถ้อยคําอันไพเราะจากสํานักของเราไซร้ นางจักพินาศ เราจักเจรจากับมารดานี้ทําให้แข็งกระด้างทีเดียวดังนี้ ฯ ทีนั้น พระเถระกล่าวกะนางภิกษุณีผู้เป็นมารดานั้นว่า ท่านเที่ยวทําอะไรอยู่จึงไม่สามารถเพื่อตัดแม้เพียงความรักได้เลยหรือ ดังนี้ ฯ นางคิดว่า น่าอนาถ ถ้อยคําของพระเถระหยาบกระด้าง ดังนี้ จึงกล่าวว่า ลูก ลูกพูดอะไร ดังนี้ แม้พระเถระก็พูดเหมือนอย่างนั้นนั่นแหละอีก จึงคิดว่าเราไม่สามารถกลั้นน้ำตาไว้ได้ ตลอดระยะเวลา ๑๒ ปี เพราะเหตุแห่งบุตรนี้ แต่บุตรของเรานี้มีหัวใจแข็งกระด้าง จะมีประโยชน์อะไรแก่เราด้วยบุตรนี้ ดังนี้ จึงตัดความเสน่หาในบุตรบรรลุพระอรหัตในวันนั้นนั้นเอง ฯ
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายพากันสนทนาในโรงธรรมว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พระกุมารกัสสปะและพระเถรี ผู้สมบูรณ์ด้วยอุปนิสัยอย่างนี้ ถูกพระเทวทัตให้พินาศแล้ว ส่วนพระศาสดา เกิดเป็นที่พึ่งของท่านทั้ง ๒ นั้น น่าอัศจรรย์จริงหนอ ธรรมดาพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมเป็นผู้อนุเคราะห์ชาวโลก ดังนี้ ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๗ (ครั้งที่ ๒)
แปล โดยพยัญชนะ
(อุตฺตราอุปาสิกา ภาค ๖ หน้า ๑๗๐ – ๑๗๑)
๑. อถสฺสา (อุตฺตราย) ปิตา ทุกฺขิตา วต เม ธีตาติ อนตฺตมนฺตํ ปเวเทตฺวา ปญฺจทส กหาปณสหสฺสานิ เปเสสิ อิมสฺมึ นคเร สิริมา นาม คณิกา อตฺถิ เทวสิกํ สหสฺสํ คณฺหาติ อิเมหิ กหาปเณหิ ตํ อาเนตฺวา สามิกสฺส ปาทปริจาริกํ กตฺวา สยํ ปุญฺญานิ กโรตูติ ฯ สา สิริมํ ปกฺโกสาเปตฺวา สหายิเก อิเม กหาปเณ คเหตฺวา อิมํ อฑฺฒมาสํ ตว สหายิกํ ปริจราหีติ อาห ฯ สา ตํ อาทาย สามิกสฺส สนฺติกํ คนฺตฺวา เตน สิริมํ ทิสฺวา กิมิทนฺติ วุตฺเต สามิ อิมํ อฑฺฒมาสํ มม สหายิกา ตุมฺเห ปริจรตุ อหํ ปน อิมํ อฑฺฒมาสํ ทานญฺเจว ทาตุกามา ธมฺมญฺจ โสตุกามาติ อาห ฯ โส ตํ อภิรูปํ อิตฺถึ ทิสฺวา อุปฺปนฺนสิเนโห สาธูติ สมฺปฏิจฺฉิ ฯ อุตฺตราปิ โข พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ นิมนฺเตตฺวา ภนฺเต อิมํ อฑฺฒมาสํ อญฺญตฺถ อคนฺตฺวา อิเธว ภิกฺขา คเหตพฺพาติ สตฺถุ ปฏิญญํ คเหตฺวา อิโตทานิ ปฏฺฐาย ยาว มหาปวารณา ตาว สตฺถารํ อุปฏฺฐาตุํ ธมฺมญฺจ โสตุํ ลภิสฺสามีติ ตุฏฺฐมานสา เอวํ ยาคุํ ปจถ เอวํ ปูเว ปจถาติ มหานเส สพฺพกิจฺจานิ สํวิทหนฺตี วิจรติ ฯ
แปล โดยอรรถ
(อุตฺตราอุปาสิกา ภาค ๖ หน้า ๑๗๑ – ๑๗๒)
๒. อถสฺสา สามิโก เสฺว ปวารณา ภวิสฺสตีติ มหานสาภิมุโข วาตปาเน ตฺวา กินฺนุ โข กโรนฺตี สา อนฺธพาลา วิจรตีติ โอโลเกนฺโต ตํ เสฏฺฐิธีตรํ ทิสฺวา อโห อนฺธพาลา เอวรูเป ฐาเน อิมํ สิริสมฺปตฺตึ นานุโภติ มุณฺฑกสมเณ อุปฏฺฐหิสฺสามีติ ตุฏฺฐจิตฺตา วิจรตีติ หสิตฺวา อปคญฺฉิ ฯ ตสฺมึ อปคเต ตสฺส สนฺติเก ฐิตา สิริมา กินฺนุ โข โอโลเกตฺวา เอส หสีติ เตเนว วาตปาเนน โอโลเกนฺตี อุตฺตรํ ทิสฺวา อิมํ โอโลเกตฺวา อิมินา หสิตํ อทฺธา อิมสฺส เอตาย สทฺธึ สนฺถโว อตฺถีติ จินฺเตสิ ฯ สา กิร อฑฺฒมาสํ ตสฺมึ เคเห พาหิรกอิตฺถี หุตฺวา วสมานาปิ ตํ สมฺปตฺตึ อนุภวมานา อตฺตโน พาหิรกอิตฺถีภาวํ อชานิตฺวา อหํ ฆรสามินีติ สญฺญมกาสิ ฯ สา อุตฺตราย อาฆาตํ พนฺธิตฺวา ทุกฺขมสฺสา อุปฺปาเทสฺสามีติ ปาสาทา โอรุยฺห มหานสํ ปวิสิตฺวา ปูวปจนฏฺฐาเน ปกฺกุฏฺิ ตํ สปฺปึ กฏจฺฉุนา อาทาย อุตฺตราภิมุขี ปายาสิ ฯ อุตฺตรา ตํ อาคจฺฉนฺตึ ทิสฺวา มม สหายิกาย มยฺหํ มหาอุปกาโร กโต จกฺกวาฬํ อติสมฺพาธํ พฺรหฺมโลโก อตินีโจ มม ปน สหายิกาย คุโณ ว มหนฺโต อหญฺหิ เอตํ นิสฺสาย ทานญฺจ ทาตุํ ธมฺมญฺจ โสตุํ ลภึ สเจ มม เอติสฺสา อุปริ โกโธ อตฺถิ อิทํ สปฺปิ มํ ฑหตุ สเจ นตฺถิ มา ฑหตูติ ตํ เมตฺตาย ผริ ฯ ตาย ตสฺสา มตฺถเก อาสิตฺตํ ปกฺกุฏิ ตสปฺปิ สีตุทกํ วิย อโหสิ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. ครั้งนั้น อ.บิดา ของนางอุตตรานั้น กล่าวแล้วว่า อ.ธิดา ของเรา เป็นผู้ถึงแล้วซึ่งทุกข์ หนอ ย่อมเป็น ดังนี้ ยังบุคคล ให้รู้ทั่วแล้ว ซึ่งความที่แห่งตนเป็นผู้มีใจมิใช่ของแห่งตน ส่งไปแล้ว ซึ่งพันแห่งกหาปณะ ท. ๑๕ ด้วยคําว่า อ.หญิงคณิกา ชื่อว่าสิริมา มีอยู่ ในพระนครนี้ อ.ธิดา ของเรา กล่าวแล้วว่า อ.ท่าน จงรับเอา ซึ่งพันแห่งทรัพย์ ทุก ๆ วัน ดังนี้ นํามาแล้ว ซึ่งนางสิริมานั้น ด้วยกหาปณะ ท. เหล่านี้ กระทําแล้ว ให้เป็นผู้บําเรอซึ่งเท้า ของสามี จงกระทํา ซึ่งบุญ ท. เอง ดังนี้ ฯ อ.นางอุตตรานั้น ยังบุคคล ให้เรียกมาแล้ว ซึ่งนางสิริมา กล่าวแล้วว่า ดูก่อนหญิงสหาย อ.ท่าน รับเอาแล้ว ซึ่งกหาปณะ ท. เหล่านี้ จงบําเรอ ซึ่งสหาย ของท่าน ตลอดกึ่งแห่งเดือน นี้ ดังนี้ ฯ อ.นางสิริมานั้น รับพร้อมเฉพาะแล้วว่า อ.ดีละ ดังนี้ ฯ อ.นางอุตตรานั้น พาเอาแล้ว ซึ่งนางสิริ มานั้น ไปแล้ว สู่สํานัก ของสามี ครั้นเมื่อคําว่า อ.เหตุนี้ อะไร ดังนี้ อันสามีนั้น เห็นแล้ว ซึ่งนางสิริมา กล่าวแล้ว กล่าวแล้วว่า ข้าแต่นาย อ.หญิงสหาย ของดิฉัน จงบําเรอ ซึ่งท่าน ตลอดกึ่งแห่งเดือน นี้ ส่วนว่า อ.ดิฉัน เป็นผู้ใคร่เพื่ออันถวาย ซึ่งทานด้วยนั่นเทียว เป็นผู้ใคร่เพื่ออันฟัง ซึ่งธรรมด้วย ตลอดกึ่งแห่งเดือน นี้ ย่อมเป็น ดังนี้ ฯ อ.สามีนั้น เห็นแล้ว ซึ่งหญิง ผู้มีรูปงาม นั้น ผู้มีความรักอันเกิดขึ้นแล้ว รับพร้อมเฉพาะแล้วว่า อ.ดีละ ดังนี้ ฯ แม้ อ.นางอุตตรา แล นิมนต์แล้ว ซึ่งหมู่แห่งภิกษุ ผู้มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ.ภิกษา อันพระองค์ ไม่เสด็จไปแล้ว ในที่อื่น พึงรับ ในเรือนนี้นั่นเทียว ตลอดกึ่งแห่งเดือน นี้ ดังนี้ รับแล้ว ซึ่งปฏิญญา ของพระศาสดา ผู้มีใจอันยินดีแล้วว่า อ.วันมหาปวารณา ย่อมมี เพียงใด อ.เรา จักได้ เพื่ออันบํารุง ซึ่งพระศาสดาด้วย เพื่ออันฟัง ซึ่งธรรมด้วย เพียงนั้น จําเดิม แต่วันนี้ ในกาลนี้ ดังนี้ ย่อมเที่ยวจัดแจงอยู่ ซึ่งกิจทั้งปวง ท. ในโรงครัวใหญ่ ด้วยคําว่า อ.ท่าน ท. จงต้ม ซึ่งข้าวต้ม อย่างนี้ อ.ท่าน ท. จงทอด ซึ่งขนม ท. อย่างนี้ ดังนี้ ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. ครั้งนั้น สามีของนางอุตตรานั้น คิดว่า พรุ่งนี้จักเป็นวันปวารณา ดังนี้ ยืนตรงหน้าต่าง หันหน้าไปทางโรงครัวใหญ่ มองดูอยู่ด้วยคิดว่า นางอันธพาลนั้น เที่ยวทําอะไรอยู่หนอแล ดังนี้ มองเห็นธิดาเศรษฐีนั้นแล้ว จึงคิดว่า พุโธ่ หญิงอันธพาล ไม่เสวยสมบัติมีสิริเช่นนี้ ในฐานะเห็นปานนี้ กลับมีจิตยินดีว่า เราจักบํารุงสมณะโล้น ดังนี้ เที่ยวไปได้ จึงหัวเราะแล้วหลีกไป ฯ เมื่อบุตรเศรษฐีนั้นหลีกไปแล้ว นางสิริมาซึ่งยืนอยู่ในที่ใกล้ของเขาคิดว่า บุตรเศรษฐีนั่นมองดูอะไรหนอแล จึงหัวเราะ ดังนี้ จึงมองลงไปทางหน้าต่างนั้นแหละ เห็นนางอุตตราแล้วคิดว่า บุตรเศรษฐีนี้ มองดูนางคนนี้ จึงหัวเราะ บุตรเศรษฐีนี้คงมีความเชยชิดกับนางเป็นแน่ ดังนี้ ฯ ได้ยินว่า นางสิริมานั้น แม้อยู่เป็นผู้หญิงภายนอกในเรือนนั้น ตลอดกึ่งเดือน เสวยสมบัตินั้นอยู่ ก็ยังไม่ทราบว่าตนเองเป็นหญิงภายนอก ได้ทําความสําคัญว่า ตนเองเป็นเจ้าของเรือน ดังนี้ฯ นางสิริมานั้น ผูกอาฆาตต่อนางอุตตราคิดว่า เราจักทําทุกข์ให้เกิดแก่ มัน ดังนี้ จึงลงจากปราสาท เข้าไปยังโรงครัวใหญ่ ใช้ทัพพีตักเนยใสอันเดือดพล่าน ในที่ทอดขนมแล้ว เดินมุ่งหน้าไปหานางอุตตรา ฯนางอุตตรา เห็นนางสิริมานั้นกําลังเดินมา จึงแผ่เมตตาไปถึงนางว่า หญิงสหายของเราทําอุปการะเป็นอันมาก แก่เรา จักรวาลก็แคบเกินไป พรหมโลกก็ต่ำยิ่งนัก ส่วนคุณของหญิงสหายของเรา ใหญ่มากทีเดียว ก็เรา อาศัยนาง จึงได้เพื่อถวายทานและฟังธรรม หากเรามีความโกรธเหนือนาง ขอเนยใสนี้ จงลวกเราเถิด หากไม่มี จงอย่าลวก (เรา) เลย ดังนี้ ฯ เนยใสที่เดือดพล่าน อันนางสิริมานั้นราดลงบนกระหม่อมของนางอุตตรานั้น ได้เป็นเหมือนน้ำเย็น ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๖
แปล โดยพยัญชนะ
(โคฆาตกปุตฺต ภาค ๗ หน้า ๑ – ๒)
๑. สาวตฺถิยํ กิเรโก โคฆาตโก คาโว วธิตฺวา วรมํสานิ คเหตฺวา ปจาเปตฺวา ปุตฺตทาเรน สทฺธึ นิสีทิตฺวา มํสญฺจ ขาทติ มูเลน จ วิกฺกีณาติ ฯ โส เอวํ ปญฺจปณฺณาสวสฺสานิ โคฆาตกกมฺมํ กโรนฺโต ธูรวิหาเร วิหรนฺตสฺส สตฺถุโน เอกทิวสํ กฏจฺฉุมตฺตมฺปิ ยาคุํ วา ภตฺตํ วา น อทาสิ ฯ โส วินา มํเสน ภตฺตํ น ภุญฺชติ ฯ โส เอกทิวสํ ทิวสภาเค มํสํ วิกฺกีณิตฺวา อตฺตโน อตฺถาย ปจิตุํ เอกํ มํสขณฺฑํ ภริยาย ทตฺวา นหายิตุํ อคมาสิ ฯ อถสฺส สหายโก เคหํ อาคนฺตฺวา ภริยํ อาห โถกํ เม วิกฺกีณิยมํสํ เทหิ เคเห เม ปาหุนโก อาคโตติ ฯ นตฺถิ วิกฺกีณิยมํสํ สหายโก เต มํสํ วิกฺกีณิตฺวา อิทานิ นหายิตุํ คโตติ ฯ มา เอวํ กริ สเจ มํสขณฺฑํ อตฺถิ เทหีติ ฯ สหายกสฺส เต นิกฺขิตฺตํ มํสขณฺฑํ เปตฺวา อฺํ มํสํ นตฺถีติ ฯ โส สหายกสฺส เม อตฺถาย ปิตมํสโต อฺํ นตฺถิ โส จ วินา มํเสน น ภุญฺชติ นายํ ทสฺสตีติ สามํ ตํ มํสํ คเหตฺวา ปกฺกามิ ฯ โคฆาตโกปิ นหาตฺวา อาคโต ตาย อตฺตโน ปกฺกปณฺเณน สทฺธึ วฑฺเฒตฺวา ภตฺเต อุปนีเต อาห กหํ มํสนฺติ ฯ นตฺถิ สามีติ ฯ นนุ อหํ ปจนตฺถาย มํสํ ทตฺวา คโตติ ฯ ตว สหายโก อาคนฺตฺวา ปาหุนโก เม อาคโต วิกฺกีณิยมํสํ เม เทหีติ วตฺวา พลกาเรน ตํ มํสํ สามํเยว คเหตฺวา คโตติ ฯ
แปล โดยอรรถ
(โคฆาตกปุตฺต ภาค ๗ หน้า ๒ – ๓)
๒. โส อหํ วินา มํเสน ภตฺตํ น ภุญฺชามิ หราหิ นนฺติ ฯ กึ สกฺกา กาตุํ ภุญฺช สามีติ ฯ โส นาหํ ภตฺตํ ภฺุญฺชามีติ ตํ ภตฺตํ หราเปตฺวา สตฺถํ อาทาย ปจฺฉาเคเห ฐิโต โคโณ อตฺถิ ตสฺส สนฺติกํ คนฺตฺวา มุเข หตฺถํ ปกฺขิปิตฺวา ชิวฺหํ นีหริตฺวา สตฺเถน มูเล ฉินฺทิตฺวา อาทาย คนฺตฺวา องฺคาเรสุ ปจาเปตฺวา ภตฺตมตฺถเก เปตฺวา นิสินฺโน เอกํ ภตฺตปิณฺฑํ ภุญฺชิตฺวา เอกํ มํสขณฺฑํ มุเข ฐเปสิ ฯ ตํขณญฺเญวสฺส ชิวฺหา ฉิชฺชิตฺวา ภตฺตปาติยํ ปติ ฯ ตํขณํเยว กมฺมสริกฺขกํ วิปากํ ลภิ ฯ โสปิ โข โคโณ วิย โลหิตธาราย มุขโต ปคฺฆรนฺติยา อนฺโตเคหํ ปวิสิตฺวา ชนฺนุเกหิ วิจรนฺโต วิรวิ ฯ ตสฺมึ สมเย โคฆาตกสฺส ปุตฺโต ปิตรํ โอโลเกตฺวา สมีเป ฐิโต โหติ ฯ อถ นํ มาตา อาห ปสฺส ปุตฺต อิมํ โคณํ วิย เคหมชฺเฌ ชนฺนุเกหิ วิจริตฺวา วิรวนฺตํ อิทํ ทุกฺขํ ตว มตฺถเก ปติสฺสติ มมํปิ อโนโลเกตฺวา อตฺตโน โสตฺถึ กโรนฺโต ปลายสฺสูติ ฯ โส มรณภยตชฺชิโต มาตรํ วนฺทิตฺวา ปลายิ ปลายิตฺวา จ ปน ตกฺกสิลํ อคมาสิ ฯ โคฆาตโกปิ โคโณ วิย เคหมชฺเฌ วิรวนฺโต วิจริตฺวา กาลํ กตฺวา อวีจิมฺหิ นิพฺพตฺติ ฯ โคโณปิ กาลมกาสิ ฯ โคฆาตกปุตฺโตปิ ตกฺกสิลํ คนฺตฺวา สุวณฺณการกมฺมํ อฺุคฺคณฺหิ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. ได้ยินว่า อ. บุคคลผู้ฆ่าซึ่งโค คนหนึ่ง ในพระนครชื่อว่าสาวัตถี ฆ่าแล้ว ซึ่งโค ท. ถือเอาแล้ว ซึ่งเนื้ออันล่ำ ท. ยังภรรยา ให้ปิ้งแล้ว นั่งแล้ว กับ ด้วยบุตรและภรรยา ย่อมเคี้ยวกิน ซึ่งเนื้อด้วย ย่อมขาย ด้วยราคาด้วย ฯ อ. บุคคลผู้ฆ่าซึ่งโคนั้น กระทำอยู่ ซึ่งกรรมแห่งบุคคลผู้ฆ่าซึ่งโค สิ้นปีห้าสิบห้า ท. อย่างนี้ ไม่ได้ถวายแล้ว ซึ่งข้าวต้มหรือ หรือว่า ซึ่งข้าวสวย แม้สักว่าทัพพี หนึ่ง แด่พระศาสดา ผู้ประทับอยู่อยู่ ในวิหาร อันใกล้ ในวันหนึ่ง ฯ อ. บุคคลผู้ฆ่าซึ่งโคนั้น ย่อมไม่บริโภค ซึ่งข้าวสวย เว้น จากเนื้อ ฯ ในวันหนึ่ง อ. บุคคลผู้ฆ่าซึ่งโคนั้น ขายแล้ว ซึ่งเนื้อ ในกาลอันเป็นส่วนแห่งวัน ให้แล้ว ซึ่งชิ้นแห่งเนื้อ ชิ้นหนึ่ง แก่ภรรยา เพื่ออันปิ้ง เพื่อประโยชน์ แก่ตน ได้ไปแล้ว เพื่ออันอาบ ฯ ครั้งนั้น อ. สหาย ของบุคคลผู้ฆ่าซึ่งโคนั้น มาแล้ว สู่เรือน กล่าวแล้วว่า อ. เธอ จงให้ ซึ่งเนื้ออันบุคคลพึงขาย หน่อยหนึ่ง แก่ข้าพเจ้า, อ. แขกของข้าพเจ้า มาแล้ว ในเรือน ดังนี้ กะภรรยา ฯ อ. ภรรยานั้น กล่าวแล้วว่า อ. เนื้ออันบุคคลพึงขาย ย่อมไม่มี, อ. สหาย ของท่าน ขายแล้ว ซึ่งเนื้อ ไปแล้ว เพื่ออันอาบ ในกาลนี้ ดังนี้ ฯ อ. สหายนั้น กล่าวแล้วว่า อ. เธอ อย่ากระทำแล้วอย่างนี้, ถ้าว่า อ. ชิ้นแห่งเนื้อ มีอยู่ไซร้, อ. เธอ ขอจงให้ ดังนี้ ฯ อ. ภรรยานั้น กล่าวแล้วว่า อ. เนื้อ อื่น เว้น ซึ่งชิ้นแห่งเนื้อ อันอันดิฉันเก็บไว้ แล้ว เพื่อสหาย ของท่าน ย่อมไม่มี ดังนี้ ฯ อ. สหายนั้น คิดแล้วว่า อ. เนื้ออื่น จากเนื้ออันหญิงนี้เก็บไว้แล้ว เพื่อประโยชน์ แก่สหาย ของเรา ย่อมไม่มี, อนึ่ง อ. สหายของเรานั้น ย่อมไม่บริโภค เว้น จากเนื้อ, อ. หญิงนี้ จักไม่ให้ ดังนี้ ถือเอาแล้ว ซึ่งเนื้อนั้นเอง หลีกไปแล้ว ฯ แม้ อ. บุคคลผู้ฆ่าซึ่งโค อาบแล้ว มาแล้ว ครั้นเมื่อ ข้าวสวย อันภรรยานั้น ให้เจริญแล้ว นำเข้าไปแล้ว กับด้วยผักอันสุกแล้ว เพื่อตน กล่าวแล้วว่า อ. เนื้อ มีอยู่ในที่ไหน ดังนี้ ฯ อ. ภรรยานั้น กล่าวแล้วว่า ข้าแต่นายอ. เนื้อ ย่อมไม่มี ดังนี้ ฯ อ. บุคคลผู้ฆ่าซึ่งโคนั้น กล่าวแล้วว่า อ. เรา ให้แล้ว ซึ่งเนื้อ เพื่อประโยชน์แก่อันปิ้ง ไปแล้ว มิใช่หรือ ดังนี้ ฯ อ. ภรรยานั้น กล่าวแล้วว่า อ. สหาย ของท่าน มาแล้ว กล่าวแล้วว่า อ. แขก ของข้าพเจ้า มาแล้ว, อ. เธอ จงให้ ซึ่งเนื้ออันบุคคลพึงขาย แก่ข้าพเจ้า ดังนี้ ถือเอาแล้ว ซึ่งเนื้อนั้นเองนั่นเทียว โดยอันกระทำซึ่งกำลัง ไปแล้ว ดังนี้ ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. นายโคฆาตก์นั้น พูดว่า เว้นจากเนื้อ เราจะไม่บริโภคข้าวสวย, เธอจงนำข้าวสวยนั้น ไปเถิด ดังนี้ ฯ ภรรยา กล่าวว่า ฉันจะสามารถทำอย่างไรได้, ขอจงบริโภคเถิดพี่ ดังนี้ ฯ เขาตอบว่า เราไม่บริโภคข้าวสวย ดังนี้ ให้ภรรยานำข้าวสวยนั้นไปแล้ว ถือมีดไปยังที่ใกล้โคตัวที่ยืนอยู่หลังเรือน แล้วจึงสอดมือเข้าไปในปากดึงลิ้นออกมาเอามีดตัดที่โคน (ลิ้น) แล้วถือไปให้ภรรยาปิ้ง บนถ่านเพลิงแล้ว วางไว้บนข้าวสวย นั่งบริโภคก้อนข้าวสวยก้อนหนึ่ง วางชิ้นเนื้อชิ้นหนึ่งไว้ ในปาก ฯ ในขณะนั้นเอง ลิ้นของเขาขาดตกลงในถาดข้าวสวย ฯ ในขณะนั้นแล เขาได้รับวิบาก ที่เห็นสมด้วยกรรม ฯ แม้เขาแล เป็นเหมือนโค มีสายเลือดไหลออกจากปาก เข้าไปภายในเรือน เที่ยวคลานร้องไป ฯ เวลานั้น บุตรของนายโคฆาตก์ยืนแลดูบิดาอยู่ใกล้ๆ ฯ ลำดับนั้น มารดาพูดกะเขาว่ า ลูก เจ้าจงดูบิดานี้เป็นเหมือนโคเที่ยวคลานร้องไปในท่ามกลางเรือน, ความทุกข์นี้ จักตกบนกระหม่อมของเจ้า, เจ้าไม่ต้องห่วงแม่เลย จงทำความสวัสดีแก่ตนหนีไปเถิด ดังนี้ ฯ เขาถูกมรณภัยคุกคาม ไหว้มารดาแล้ว จึงหนีไป, ก็แล ครั้นหนีไปแล้ว ได้ไปยังนครตักกสิลา ฯ แม้นายโคฆาตก์เป็นเหมือนโค เที่ยวร้องไปในท่ามกลางเรือน ตายแล้วเกิดในนรกอเวจี ฯ แม้โคก็ตายแล้ว ฯ ฝ่ายบุตรนายโคฆาตก์ไปยังนครตักกสิลา เรียนการงานของนายช่างทอง ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๖ (ครั้งที่ ๒)
แปล โดยพยัญชนะ
(เมณฺฑกเสฏฺฐิ ภาค ๗ หน้า ๓๕ – ๓๖)
๑. อถสฺส ภริยา สพฺพาลงฺกาเรหิ อลงฺกริตฺวา มหาชนสฺส ปสฺสนฺตสฺเสว ตณฺฑุเล มินาเปตฺวา เตหิ ภตฺตํ ปจาเปตฺวา ทฺวารโกฏฺฐเก ปญฺเญตฺตาสเน นิสีทิตฺวา สุวณฺณกฏจฺฉํฃอาทาย ภตฺเตน อตฺถิกา อาคจฺฉนฺตูติ โฆสาเปตฺวา อาคตาคตานํ คหิตภาชนานิ ปูเรตฺวา อทาสิ ฯ สกลทิวสมฺปิ เทนฺติยา กฏจฺฉุนา คหิตฏฺฐานเมว ปญฺญฺายิ ฯ ตสฺสา ปน ปุริมพุทฺธานํปิ ภิกฺขุสงฺฆสฺส วามหตฺเถน อุกฺขลึ ทกฺขิณหตฺเถน กฏจฺฉํฃ คเหตฺวา เอวเมว ปตฺเต ปูเรตฺวา ภตฺตสฺ ส ทินฺนตฺตา วามหตฺถตลํ ปูเรตฺวา ปทุมลกฺขณํ นิพฺพตฺติ ทกฺขิณหตฺถตลํ ปูเรตฺวา จนฺทลกฺขณํ นิพฺพตฺติ ฯ ยสฺมา ปน ธมกรกํ อาทาย ภิกฺขุสงฺฆสฺส อุทกํ ปริสฺสาเวตฺวา ททมานา อปราปรํ วิจริ เตนสฺสา ทกฺขิณปาทตลํ ปูเรตฺวา จนฺทลกฺขณํ นิพฺพตฺติ วามปาทตลํ ปูเรตฺวา ปทุมลกฺขณํ นิพฺพตฺติ ฯ ตสฺสา อิมินา การเณน จนฺทปทุมาติ นามํ กรึสุ ฯ ปุตฺโตปิสฺส สีสํ นหาโต สหสฺสตฺถวิกํ อาทาย กหาปเณหิ อตฺถิกา อาคจฺฉนฺตูติ วตฺวา อาคตาคตานํ คหิตภาชนานิ ปูเรตฺวา อทาสิ ฯ ถวิกาย กหาปณสหสฺ สํ อโหสิเยว ฯ สุณิสาปิสฺส สพฺพาลงฺกาเรหิ อลงฺกริตฺวา วีหิปิฏกํ อาทาย อากาสงฺคเณ นิสินฺนา วีชภตฺเตน อตฺถิกา อาคจฺฉนฺตูติ วตฺวา อาคตาคตานํ คหิตภาชนานิ ปูเรตฺวา อทาสิ ฯ ปิฏกํ ยถาปูริตเมว อโหสิ ฯ
แปล โดยอรรถ
(เมณฺฑกเสฏฺฐิ ภาค ๗ หน้า ๓๖ – ๓๗)
๒. ทาโสปิสฺส สพฺพาลงฺกาเรหิ อลงฺกริตฺวา สุวณฺณยุเค สุวณฺณโยตฺเตหิ โคเณ โยเชตฺวา สุวณฺณปโตทยฏฺฐึ อาทาย โคณานํ คนฺธปญฺจงฺคุลิกานิ ทตฺวา วิสาเณสุ สุวณฺณโกสเก ปฏิมุญฺจิตฺวา เขตฺตํ คนฺตฺวา ปาเชสิ ฯ อิโต ติสฺโส เอโต ติสฺโส มชฺเฌ เอกาติ สตฺต สิตา ภิชฺชิตฺวา อคมํสุ ฯ ชมฺพุทีปวาสิโน ภตฺตวีชหิรญฺญสุวณฺณทีสุ ยถารุจิตํ เสฏฺฐิเคหโตเยว คณฺหึสุ ฯ
เอวํ มหานุภาโว เสฏฺฐี สตฺถา กิร อาคโตติ สุตฺวา สตฺถุ ปจฺจุคฺคมนํ กริสฺสามีติ นิกฺขมนฺโต อนฺตรามคฺเค ติตฺถิเย ทิสฺวา เตหิ กสฺมา ตฺวํ คหปติ กิริยวาโท สมาโน อกิริยวาทสฺส สมณสฺส โคตมสฺส สนฺติกํ คจฺฉสีติ นิวาริยมาโนปิ เตสํ วจนํ อนาทยิตฺวา ว คนฺตฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ ฯ อถสฺส สตฺถา อนุปุพฺพีกถํ กเถสิ ฯ โส เทสนาวสาเน โสตาปตฺติผลํ ปตฺวา สตฺถุ ติตฺถิเยหิ อวณฺณํ วตฺวา อตฺตโน นิวาริตภาวํ อาโรเจสิ ฯ อถ นํ สตฺถา คหปติ อิเม สตฺตา นาม มหนฺตํ อตฺตโน โทสํ น ปสฺสนฺติ อวิชฺชมานํปิ ปเรสํ โทสํ วิชฺชมานกํ กตฺวา ตตฺถ ตตฺถ ภุสํ วิย โอปุนนฺตีติ วตฺวา อิมํ คาถมาห
สุทสฺสํ วชฺชมญฺเญสํ อตฺตโน ปน ทุทฺทสํ
ปเรสํ หิ โส วชฺชานิ โอปุนาติ ยถา ภุสํ
อตฺตโน ปน ฉาเทติ กลึว กิตวา สโฐติ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. ครั้งนั้น อ. ภรรยา ของเศรษฐีนั้น ประดับแล้ว ด้วยเครื่องประดับทั้งปวง ท. เมื่อมหาชน เห็นอยู่นั่นเทียว ยังบุคคลให้ตวงแล้ว ซึ่งข้าวสาร ท. ยังบุคคลให้หุงแล้ว ซึ่งภัตร ด้วยข้าวสาร ท. เหล่านั้น นั่งแล้ว บนอาสนะ อันบุคคลปูลาดแล้ว ที่ซุ้มแห่งประตู ถือเอาแล้ว ซึ่งทัพพีอันบุคคลทําแล้วด้วยทองคํา ยังบุคคลให้ป่าวร้องแล้วว่า อ. ชน ท. ผู้มีความต้องการ ด้วยภัตร จงมา ดังนี้ ยังภาชนะ อันชน ท. ผู้ทั้งมาแล้วทั้งมาแล้ว ถือเอาแล้ว ท. ให้เต็มแล้ ว ได้ให้แล้ว ฯ อ. ที่แห่งภัตร อันภรรยาของเศรษฐี ผู้ให้อยู่ แม้ตลอดวันทั้งสิ้น ถือเอาแล้ว ด้วยทัพพีนั่นเทียว ปรากฏแล้ว ฯ ก็ อ. ลักษณะแห่งดอกปทุม บังเกิดแล้ว ยังพื้นแห่งมือข้างซ้าย ให้เต็ม, อ.ลักษณะแห่งพระจันทร์ บังเกิดแล้ว ยังพื้นแห่งมือข้างขวา ให้เต็ม เพราะความที่แห่งภัตรเป็นภัตรอันภรรยาของเศรษฐีนั้น จับ ซึ่งหม้อข้าว ด้วยมือข้างซ้าย ซึ่งทัพพี ด้วยมือข้างขวา แล้วจึง ยังบาตร ท. ให้เต็ม จึงถวายแล้ว แก่หมู่แห่งภิกษุ แม้ของพระพุทธเจ้าผู้มีในกาลก่อน ท. อย่างนี้นั่นเทียว ฯ ก็ อ. ภรรยา ของเศรษฐีนั้น ถือเอาแล้ว ซึ่งเครื่องกรองน้ำ กรองแล้ว ซึ่งน้ำ ถวายอยู่ แก่หมู่แห่งภิกษุ เที่ยวไปแล้ว ไป ๆ มา ๆ เหตุใด, เพราะเหตุนั้น อ. ลักษณะแห่งพระจันทร์ บังเกิดแล้ว ยังพื้นแห่งเท้าข้างขวา ของภรรยาของเศรษฐีนั้น ให้เต็ม, อ. ลักษณะแห่งดอกปทุม บังเกิดแล้ว ยังพื้นแห่งเท้าข้างซ้าย ของภรรยา ของเศรษฐีนั้น ให้เต็ม ฯ อ. ญาติ ท. กระทําแล้ว ซึ่งคําว่า อ. จันทปทุมา ดังนี้ ให้เป็นชื่อ ของภรรยา ของเศรษฐีนั้น เพราะเหตุนี้ ฯ แม้ อ. บุตร ของเศรษฐีนั้น อาบแล้ว ซึ่งศีรษะ ถือเอาแล้ว ซึ่งถุง อันเต็มแล้ว ด้วยพัน (แห่งกหาปณะ) กล่าวแล้วว่า อ. ชน ท. ผู้มีความต้องการ ด้วยกหาปณะ ท. จงมา ดังนี้ ยังภาชนะ อันชน ท. ผู้ทั้งมาแล้วทั้งมาแล้ว ถือเอาแล้ว ท. ให้เต็มแล้ว ได้ให้แล้ว ฯ อ. พันแห่งกหาปณะ ได้มีแล้ว ในถุง นั่นเทียว ฯ แม้ อ. หญิงสะใภ้ ของเศรษฐีนั้น ประดับแล้ว ด้วยเครื่องประดับทั้งปวง ท. ถือเอาแล้ว ซึ่งกระบุง แห่งข้าวเปลือก นั่งแล้ว ที่เนินในที่แจ้ง กล่าวแล้วว่า อ. ชน ท. ผู้มีความต้องการ ด้วยภัตรอันเป็นพืช จงมา ดังนี้ ยังภาชนะ อันชน ท. ผู้ทั้งมาแล้วทั้งมาแล้ว ถือเอาแล้ว ท. ให้เต็มแล้ว ได้ให้แล้ว ฯ อ. กระบุง เป็นของเต็มแล้วอย่างไรนั่นเทียว ได้เป็นแล้ว ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. แม้ทาสของเศรษฐีนั้น แต่งตัวเต็มที่ด้วยเครื่องประดับทุกชนิด เทียมโคที่แอกทองคํา ด้วยเชือกทองคํา ถือด้ามปฏักทองคํา ให้ของหอมที่จะพึงเจิมด้วยนิ้วมือทั้ง ๕ แก่โคทั้งหลาย สวมปลอกทองคําที่เขา แล้วขับไปยังนา ฯ รอยไถได้แตกออกเป็น ๗ รอย คือ ข้างนี้ ๓ รอย ข้างโน้น ๓ รอย กลาง ๑ รอย ฯ ชาวชมพูทวีปถือเอาสิ่งของ บรรดาภัตรพืชเงินและทองคําเป็นต้น ตามที่ตนชอบใจจากเรือนของเศรษฐีนั่นแหละ ฯ
เศรษฐีผู้มีอานุภาพมากอย่างนั้น ฟังมาว่า ข่าวว่า พระบรมศาสดาเสด็จมาแล้ว ดังนี้ จึงดําริว่า เราจักกระทําการรับเสด็จพระบรมศาสดา ดังนี้ เมื่อออกไปก็พบพวกเดียรถีย์ เข้ากลางทาง แม้ถูกพวกเดียรถีย์เหล่านั้นห้ามว่า คฤหบดี ท่านเป็นผู้กล่าวว่ากรรมอั นบุคคลทําแล้ว ชื่อว่าเป็นอันทํา จะไปยังสํานักพระสมณโคดมผู้กล่าวว่ากรรมอันบุคคลทําแล้วว่าไม่เป็นอันทํา เพราะเหตุไร ? ดังนี้ ก็มิได้เชื่อถ้อยคําของพวกเดียรถีย์เหล่านั้นเลย ไปถวายบังคมพระบรมศาสดาแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ฯ ลําดับนั้น พระบรมศาสดา ตรัสอนุบุพพีกถาแก่เศรษฐีนั้น ฯ ในเวลาจบเทศนา เศรษฐีนั้นบรรลุโสดาปัตติผล แล้วกราบทูลความที่ตนถูกพวกเดียรถีย์กล่าวโทษ (ของพระองค์) แล้วห้ามไว้ แก่พระบรมศาสดา ฯ ลําดับนั้น พระบรมศาสดา ตรัสกะท่านเศรษฐีนั้นว่า คฤหบดี ธรรมดาสัตว์เหล่านี้ ย่อมไม่มองโทษของตนซึ่งมีอยู่มาก ย่อมโปรยโทษของบุคคลเหล่าอื่นแม้ไม่มีอยู่ กระทําให้มีอยู่ เหมือนบุคคลโปรยแกลบลงในที่นั้น ๆ ฉะนั้น ดังนี้แล้ว จึงตรัสพระคาถานี้ว่า
โทษของบุคคลอื่น เห็นได้ง่าย ส่วนโทษของตน เห็นได้ยาก เพราะว่า
ผู้นั้น ย่อมโปรยโทษของบุคคลเหล่าอื่น เหมือนบุคคลโปรยแกลบ
แต่ว่า ย่อมปกปิด (โทษ) ของตน เหมือนนายพรานนก ปกปิด
อัตภาพด้วยเครื่องปกปิด ฉะนั้น ดังนี้ ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๕
แปล โดยพยัญชนะ
(วิสาขาย สหายิกา ภาค ๕ หน้า ๙๑ – ๙๒)
๑. สาวตฺถิยํ กิร ปญฺจสตา กุลปุตฺตา เอวํ อิมา อปฺปมาทวิหารินิโย ภวิสฺสนฺตีติ อตฺตโน อตฺตโน ภริยาโย วิ สาขํ มหาอุปาสิกํ ปฏิจฺฉาเปสุํ ฯ ตา อุยฺยานํ วา วิหารํ วา คจฺฉนฺติโย ตาย สทฺธึเยว คจฺฉนฺติ ฯ ตา เอกสฺมึ กาเล สตฺตาหํ สุราฉโณ ภวิสฺสตีติ ฉเณ สงฺฆุฏฺเฐ อตฺตโน อตฺตโน สามิกานํ สุรํ ปฏิยาเทสุํ ฯ เต สตฺตาหํ สุราฉณํ กีฬิตฺวา อฏฺฐเม ทิวเส กมฺมนฺตกิริยาย นิกฺขนฺตา อคมํสุ ฯ ตาปิ อิตฺถิโย มยํ สามิกานํ สมฺมุขา สุรํ ปาตุํ น ลภิมฺหา อวเสสสุรา จ อตฺถิ อิมํ ยถา เต น ชานนฺติ ตถา ปิวิสฺสามาติ วิสาขาย สนฺติกํ คนฺตฺวา อิจฺฉาม อยฺเย อุยฺยานํ ทฏฺฐุนฺติ วตฺวา สาธุ อมฺมา เตนหิ กตฺตพฺพกิจฺจานิ กตฺวา นิกฺขมถาติ วุตฺเต ตาย สทฺธึ คนฺตฺวา ปฏิจฺฉนฺนากาเรน สุรํ นีหราเปตฺวา อุยฺยาเน ปิวิตฺวา มตฺตา วิจรึสุ ฯ วิสาขา อยุตฺตํ อิ มาหิ กตํ อิทานิ สมณสฺส โคตมสฺส สาวิกา สุรํ ปิวิตฺวา วิจรนฺตีติ ติตฺถิยาปิ ครหิสฺสนฺตีติ จินฺเตตฺวา ตา อิตฺถิโย อาห อมฺมา อยุตฺตํ โว กตํ มมปิ อยโส อุปฺปาทิโต สามิกาปิ โว กุชฺฌิสฺสนฺติ อิทานิ กึ กริสฺสถาติ ฯ คิลานาลยํ ทสฺสยิสฺสาม อยฺเยติ ฯ เตนหิ ปญฺญายิสฺสถ สเกน กมฺเมนาติ ฯ ตา เคหํ คนฺตฺวา คิลานาลยํ กรึสุ ฯ
แปล โดยอรรถ
(วิสาขาย สหายิกา ภาค ๕ หน้า ๙๒ – ๙๓)
๒. อถ ตาสํ สามิกา อิตฺถนฺนามา จ อิตฺถนฺนามา จ กหนฺติ ปุจฺฉิตฺวา คิลานาติ สุตฺวา อทฺธา เอตาหิ อวเสสสุรา ปีตา ภวิสฺสตีติ สลฺลกฺเขตฺวา ตา โปเถตฺวา อนยพฺยสนํ ปาเปสุํ ฯ ตา อปรสฺมึปิ ฉณวาเร ตเถว สุรํ ปาตุกามา วิสาขํ อุปสงฺกมิตฺวา อยฺเย อุยฺยานํ โน เนหีติ วตฺวา ปุพฺเพปิ เม ตุมฺเหหิ อยโส อุปฺปาทิโต คจฺฉถ น โว อหํ เนสฺสามีติ ตาย ปฏิกฺขิตฺตา อิทานิ เอวํ น กริสฺสามาติ สมสฺสาเสตฺวา ปุน ตํ อุปสงฺกมิตฺวา อาหํสุ อยฺเย พุทฺธปูชํ กาตุกามมฺห วิหารํ โน เนหีติ ฯ อิทานิ อมฺมา ยุชฺชติ คจฺฉถ ปริวจฺฉํ กโรถาติ ฯ ตา จงฺโกฏเกหิ คนฺธมาลาทีนิ คาหาเปตฺวา สุราปุณฺเณ มุฏฺฐิวารเก หตฺเถหิ โอลมฺเพตฺวา มหาปเฏ ปารุปิตฺวา วิสาขํ อุปสงฺกมิตฺวา ตาย สทฺธึ วิหารํ ปวิสมานา เอกมนฺตํ นิสีทิตฺวา มุฏฺฐิวารเกเหว สุรํ ปิวิตฺวา วารเก ฉฑฺเฑตฺวา ธมฺมสภายํ สตฺถุ ปุรโต นิสีทึสุ ฯ วิสาขา อิเมสํ ภนฺเต ธมฺมํ กเถถาติ อาห ฯ ตาปิ มทเวเคน กมฺปมานสรีรา นจฺจิสฺสาม คายิสฺสามาติ จิตฺตํ อุปฺปาเทสุํ ฯ อเถกา มารกายิกา เทวตา อิทานิ อิมาสํ สรีเรสุ อธิมุจฺจิตฺวา สมณสฺส โคตมสฺส ปุรโต วิปฺปการํ ทสฺเสสฺสามีติ จินฺเตตฺวา ตาสํ สรีเรสุ อธิมุจฺจิ ฯ ตาสุ เอกจฺจา สตฺถุ ปุรโต ปาณึ ปหริตฺวา หสิตุํ เอกจฺจา นิจฺจิตุํ อารภึสุ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. ได้ยินว่า อ. กุลบุตร ท. ผู้มีร้อยห้าเป็นประมาณ ในพระนครชื่อว่าสาวัตถี ยังนางวิสาขา ผู้มหาอุบาสิกา ให้รับรองแล้ว ซึ่งภรรยา ท. ของตน ของตน ด้วยความหวังว่า อ. หญิง ท. เหล่านี้ จักเป็นผู้อยู่ด้วยความไม่ประมาทโดยปกติ จักเป็น อย่างนี้ ดังนี้ ฯ อ. หญิง ท. เหล่านั้น เมื่อไป สู่สวนหรือ หรือว่าสู่วิหาร ย่อมไป กับ ด้วยนางวิสาขานั้นนั่นเทียว ฯ ในกาลหนึ่ง อ. หญิง ท. เหล่านั้น ครั้นเมื่อมหรสพ อันบุคคล ป่าวร้องแล้วว่า อ. มหรสพอันบุคคลพึงเล่นในเพราะสุรา จักมี ตลอดวัน ๗ ดังนี้ จัดแจงแล้ว ซึ่งสุรา เพื่อสามี ท. ของตน ของตน ฯ อ. สามี ท. เหล่านั้น เล่นแล้ว ซึ่งมหรสพอันบุคคลพึงเล่นในเพราะสุรา ตลอดวัน ๗ ออกแล้ว ได้ไปแล้ว เพื่ออันกระทําซึ่งการงาน ในวัน ที่ ๘ ฯ อ. หญิง ท. แม้เหล่านั้น ปรึกษากันแล้วว่า อ. เรา ท. ไม่ได้แล้ว เพื่ออันดื่ม ซึ่งสุรา ในที่พร้อมหน้า แห่งสามี ท., ก็ อ. สุราอันเหลือลง มีอยู่, อ. เรา ท. จักดื่ม ซึ่งสุรานี้ อ. สามี ท. เหล่านั้น จะไม่รู้ โดยประการใด โดยประการนั้น ดังนี้ ไปแล้วสู่สํานัก ของนางวิสาขา กล่าวแล้วว่า ข้าแต่แม่เจ้า อ. ดิฉัน ท. ย่อมปรารถนา เพื่ออันเห็น ซึ่งสวน ดังนี้ ครั้นเมื่อคําว่า ดูก่อนแม่ ท. อ. ดีละ, ถ้าอย่างนั้น อ. เธอ ท. กระทําแล้ว ซึ่งกิจอันตนพึงกระทํา ท. จงออกไป ดังนี้ อันนางวิสาขานั้น กล่าวแล้ว ไปแล้ว กับ ด้วยนางวิสาขานั้น ยังกันและกัน ให้นําออกไปแล้ว ซึ่งสุรา โดยอาการอันตนปกปิดแล้ว ดื่มแล้ว เมาแล้ว เที่ยวไปแล้ว ในสวน ฯ อ. นางวิสาขา คิดแล้วว่า อ. กรรม อันไม่สมควรแล้ว อันหญิง ท. เหล่านี้ กระทําแล้ว, ในกาลนี้ แม้ อ. เดียรถีย์ ท. จักติเตียนว่า อ. สาวิกา ท. ของพระสมณะ ผู้โคดม ดื่มแล้ว ซึ่งสุรา ย่อมเที่ยวไป ดังนี้ ดังนี้ กล่าวแล้ว กะหญิง ท. เหล่านั้นว่า ดูก่อนแม่ ท. อ. กรรม อันไม่สมควรแล้ว อันเธอ ท. กระทําแล้ว, อ. โทษมิใช่ยศ อันเธอ ท. ให้เกิดขึ้นแล้ว แม้แก่ เรา แม้ อ. สามี ท. จักโกรธ ต่อเธอ ท., ในกาลนี้ อ. เธอ ท. จักกระทํา อย่างไร ดังนี้ ฯ อ. หญิง ท. เหล่านั้น กล่าวแล้วว่า ข้าแต่แม่เจ้า อ. ดิฉัน ท. จักแสดง ซึ่งการลวงว่าเป็นไข้ ดังนี้ ฯ อ. นางวิสาขากล่าวแล้วว่า ถ้าอย่างนั้น อ. เธอ ท. จักปรากฏ ด้วยกรรม อันเป็นของตน ดังนี้ ฯ อ. หญิง ท. เหล่านั้น ไปแล้ว สู่เรือน กระทําแล้ว ซึ่งการลวงว่าเป็นไข้ ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. ทีนั้น สามีของหญิงเหล่านั้นถามว่า หญิงชื่อนี้และชื่อนี้ไปไหน ได้ยินว่าเป็นไข้ ก็กําหนดจับได้ว่า พวกนี้จักดื่มสุราที่เหลือเป็นแน่แท้ จึงได้ทุบตีหญิงเหล่านั้นให้ถึงความบอบช้ำฯ ในคราวมหรสพ แม้อื่นอีก หญิงเหล่านั้นอยากดื่มสุราเหมือนอย่างนั้น จึงเข้าไปหานางวิสาขา กล่าวว่า แม่เจ้า โปรดพาพวกดิฉันไปสวนเถิด ถูกนางวิสาขานั้นห้ามว่า แม้ในคราวก่อน พวกเธอกระทําความเสื่อมเสียให้เกิดขึ้นแก่ฉัน, ไปเองเถอะ, ฉันจักไม่พาพวกเธอไป ได้พูดเอาใจว่า ทีนี้ พวกดิฉันจักไม่ทําอย่างนี้ ดังนี้ แล้วจึงเข้าไปหานางวิสาขานั้นอีก พูดว่า แม่เจ้า พวกดิฉันประสงค์จะทําพุทธบูชา, ขอจงพาพวกดิฉันไปวิหารเถิด ฯ นางวิสาขาจึงพูดว่า แน่ะแม่ทั้งหลาย บัดนี้ ย่อมสมควร, พวกเธอจงไปจัดแจงเตรียมตัวเถิด ฯ หญิงเหล่านั้นช่วยกันถือของหอมและระเบียบดอกไม้เป็นต้นด้วยผอบ หิ้วขวดมีสัณฐานดุจกํามือ ซึ่งเต็มไปด้วยสุรา ด้วยมือทั้ง ๒ ข้าง คลุมผ้าผืนใหญ่เข้าไปหานางวิสาขาแล้ว เข้าไปยังวิหารพร้อมกับนางวิสาขานั้น นั่ง ณ ส่วนข้างหนึ่ง ดื่มสุราด้วยขวดอันมีสัณฐานดุจกํามือนั่นเองแล้ว ทิ้งขวดเสีย นั่งตรงพระพักตร์พระศาสดาในธรรมสภา ฯ นางวิสาขากราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ขอพระองค์ทรงแสดงธรรมแก่หญิงเหล่านี้ ฯ ฝ่ายหญิงเหล่านั้น มีตัวสั่นเทิ้มอยู่ด้วยฤทธิ์เมา เกิดความคิดขึ้นว่า พวกเราจักฟ้อน จักขับร้อง ดังนี้ ฯ ลําดับนั้น เทวดาซึ่งนับเนื่องในหมู่มารตนหนึ่ง คิดว่า บัดนี้ เราจักเข้าสิงในร่างของหญิงเหล่านี้แล้ว จักแสดงอาการอันแปลก เบื้องพระพักตร์พระสมณโคดม ดังนี้ แล้วจึงเข้าสิงในร่างของหญิงเหล่านั้น ฯ บรรดาหญิงเหล่านั้น บางพวกเริ่มปรบมือหัวเราะ, บางพวกเริ่มฟ้อน เบื้องพระพักตร์พระศาสดา ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๕ (ครั้งที่ ๒)
แปล โดยพยัญชนะ
(รูปนนฺทตฺเถรี ภาค ๕ หน้า ๑๐๓ – ๑๐๔)
๑. รูปนนฺทา ภิกฺขุนีนญฺเจว อุปาสิกานญฺจ สนฺติกา ตถาคตสฺส คุณกถํ สุตฺวา จินฺเตสิ อติวิย เม ภาติกสฺส วณฺณํ กเถนฺติเยว เอกทิวสํปิ เม รูเป โทสํ กเถนฺโต กิตฺตกํ กเถสฺสติ ยนฺนูนาหํ ภิกฺขุนีหิ สทฺธึ คนฺตฺวา อตฺตานํ อทสฺเสตฺวา ว ตถาคตํ ปสฺสิตฺวา ธมฺมํ สุณิตฺวา อาคจฺเฉยฺยนฺติ ฯ สา อหํ อชฺช ธมฺมสฺสวนํ คมิสฺสามีติ ภิกฺขุนีนํ อาโรเจสิ ฯ ภิกฺขุนิโย จิรสฺสํ วต รูปนนฺทาย สตฺถุ อุปฏฺฐานํ คนฺตุกามตา อุปฺปนฺนา อชฺช สตฺถา อิมํ นิสฺสาย วิจิตฺตํ ธมฺมเทสนํ เทเสสฺสตีติ ตุฏฺฐมานสา ตมาทาย นิกฺขมึสุ ฯ สา นิกฺขนฺตกาลโต ปฏฺฐาย อหํ อตฺตานํ เนว ทสฺเสสฺสามีติ จินฺเตสิ ฯ สตฺถา อชฺช รูปนฺนทา มยฺหํ อุปฏฺฐานํ อาคมิสฺสติ กีทิสี นุ โข ตสฺสา ธมฺมเทสนา สปฺปายาติ จินฺเตตฺวา รูปครุกา เอสา อตฺตภาเว พลวสิเนหา กณฺฏเกน กณฺฏกุทฺธรณํ วิย รูเปนวสฺสา รูปมทนิมฺมทนํ สปฺปายนฺติ สนฺนิฏฺฐานํ กตฺวา ตสฺสา วิหารํ ปวิสนสมเย เอกํ อภิรูปํ อิตฺถึ โสฬสวสฺสุทฺเทสิกํ รตฺตวตฺถนิวตฺถํ สพฺพาภรณปฏิมณฺฑิตํ วีชนึ คเหตฺวา อตฺตโน สนฺติเก ตฺวา วีชมานํ อิทฺธิพเลน อภินิมฺมินิ ฯ ตํ โข ปน อิตฺถึ สตฺถา เจว ปสฺสนฺติ รูปนนฺทา จ ฯ
แปล โดยอรรถ
(รูปนนฺทตฺเถรี ภาค ๕ หน้า ๑๐๔ – ๑๐๕)
๒. ภิกฺขุนีหิ สทฺธึ วิหารํ ปวิสิตฺวา ภิกฺขุนีนํ ปิฏฺฐิปสฺเส ตฺวา ปญฺจปติฏฺฐิเตน สตฺถารํ วนฺทิตฺวา ภิกฺขุนีนํ อนฺตเร นิสินฺนา ปาทโต ปฏฺ าย สตฺถารํ โอโลเกนฺตี ลกฺขณวิจิตฺตํ อนุพฺยญฺชนสมุชฺชลํ พฺยามปฺปภาปริกฺขิตฺตํ สตฺถุ สรีรํ ทิสฺวา ปุณฺณจนฺทสสฺสิริกํ มุขํ โอโลเกนฺตี สมีเป ฐิตํ อิตฺถีรูเป อทฺทส ฯ สา ตํ โอโลเกตฺวา อตฺตภาวํ โอโลเกนฺตี สุวณฺณราชหํสิยา ปุรโต กากีสทิสํ อตฺตานํ อวมญฺิ ฯ อิทฺธิมยรูปํ ทิฏฺกาลโต ปฏฺฐาเยว หิ ตสฺสา อกฺขีนิ ภมึสุ ฯ สา อโห อิมิสฺสา เกสา โสภา อโห ลลาฏํ โสภนฺติ สพฺเพสํ สรีรปฺปเทสานํ รูปสิริยา สมากฑฺฒิตจิตฺตา ตสฺมึ รูเป พลวสิเนหา อโหสิ ฯ สตฺถา ตสฺสา ตตฺถ อภิรตึ ญตฺวา ธมฺมํ เทเสนฺโต ว ตํ รูปํ โสฬสวสฺสุทฺเทสิกภาวํ อติกฺกมิตฺวา วีสติวสฺสุทฺเทสิกํ กตฺวา ทสฺเสสิ ฯ รูปนนฺทา โอโลเกตฺวา น วติทํ รูปํ ปุริมสทิสนฺติ โถกํ วิรตฺตจิตฺตา อโหสิ ฯ สตฺถา อนุกฺกเมเนว ตสฺสา อิตฺถิยา สกึ วิชาตวณฺณํ มชฺฌิมิตฺถีวณฺณํ มหลฺลกิตฺถีวณฺณํ ชราชิณฺณมหลฺลกิตฺถีวณฺณนฺติ ฯ สาปิ อนุปุพฺเพเนว อิทํปิ อนฺตรหิตํ อิทํปิ อนฺตรหิตนฺติ ชราชิณฺณกาเล ตํ วิรชฺชมานา ขณฺฑหนฺตํ ปลิตสิรํ โอภคฺคํ โคปานสิวงฺกํ ทณฺฑปรายนํ ปเวธมานํ ทิสฺวา อติวิย วิรชฺชิ ฯ อถ สตฺถา ตํ พฺยาธินา อภิภูตํ กตฺวา ทสฺเสสิ ฯ สา ตํขณญฺเญว ทณฺฑญฺจ ตาลปณฺณญฺจ ฉฑฺเฑตฺวา มหาวิรวํ วิรวมานา ภูมิยํ ปติตฺวา สเก มุตฺตกรีเส นิมุคฺคา อปราปรํ ปริวตฺติ ฯ รูปนนฺทา ตํ ทิสฺวา อติวิย วิรชฺชิ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. อ. พระนางรูปนันทา ทรงสดับแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งพระคุณ ของพระตถาคต จากสํานัก ของภิกษุณี ท. ด้วยนั่นเทียว ของอุบาสิกา ท. ด้วย ทรงดําริแล้วว่า อ. ชน ท. ย่อมกล่าว ซึ่งคุณอันบุคคลพึงพรรณนา ของพระภาดา ของเรา เกินเปรียบนั่นเทียว อ. พระภาดา เมื่อตรัส ซึ่งโทษ ในรูป ของเรา จักตรัส ซึ่งโทษอันมีประมาณเท่าไหร่ แม้ในวันหนึ่ง ไฉนหนอ อ. เรา ไปแล้ว กับ ด้วยภิกษุณี ท. ไม่แสดงแล้ว ซึ่งตนเทียว เฝ้าแล้ว ซึ่งพระตถาคต ฟังแล้ว ซึ่งธรรม พึงมา ดังนี้ ฯ อ. พระนางรูปนันทานั้น ตรัสบอกแล้ว แก่ภิกษุณี ท. ว่า อ. ดิฉัน จักไป สู่ที่เป็นที่ ฟังซึ่งธรรม ในวันนี้ ดังนี้ ฯ อ. ภิกษุณี ท. ผู้มีใจยินดีแล้วว่า อ. ความที่แห่งพระนางรูปนันทาเป็นผู้ทรงประสงค์เพื่ออันเสด็จไป สู่ที่เป็นที่บํารุง แห่งพระศาสดา เกิดขึ้นแล้ว สิ้นกาลนานหนอ อ. พระศาสดา ทรงอาศัยแล้ว ซึ่งพระนางรูปนันทานี้ จักทรงแสดง ซึ่งพระธรรมเทศนา อันวิจิตร ในวันนี้ ดังนี้ พา ซึ่งพระนางรูปนันทานั้น ออกไปแล้ว ฯ อ. พระนางรูปนันทานั้น ทรงดําริแล้วว่า อ. เรา จักไม่แสดง ซึ่งตนนั่นเทียว ดังนี้ จําเดิม แต่กาลแห่งตนออกไปแล้ว ฯ อ. พระศาสดา ทรงพระดําริแล้ว่า อ. พระนางรูปนันทา จักมา สู่ที่เป็นที่บํารุง แห่งเรา ในวันนี้ อ. ธรรมเทศนา เช่นไร หนอ แล เป็นที่สบาย แก่พระนางรูปนันทานั้น ย่อมเป็น ดังนี้ ทรงกระทําแล้ว ซึ่งการตกลงว่า อ. พระนางรูปนันทานั่น เป็นผู้หนักในรูป เป็นผู้มีความรักมีกําลัง ในอัตภาพ ย่อมเป็น อ. การย่ำยีเสียซึ่งความเมาในรูป ด้วยรูปนั่นเทียว เป็นที่สบาย แก่พระนางรูปนันทานั้น ย่อมเป็น ราวกะ อ. การบ่งซึ่งหนามด้วยหนาม ดังนี้ ทรงเนรมิตเฉพาะแล้ว ซึ่งหญิงผู้มีรูปงาม คนหนึ่ง ผู้อันบุคคลพึงแสดงขึ้นว่ามีกาลฝน ๑๖ ผู้มีผ้าสีแดงอันนุ่งแล้ว ผู้ประดับเฉพาะแล้วด้วยเครื่องอาภรณ์ทั้งปวง ผู้ถือเอา ซึ่งพัด แล้วจึงยืนพัดอยู่ ในที่ใกล้ แห่งพระองค์ ด้วยกําลังแห่งพระฤทธิ์ ในสมัยเป็นที่เข้าไป สู่วิหาร (แห่งพระนางรูปนันทานั้น) ฯ ก็ อ. พระศาสดาด้วยนั่นเทียว อ. พระนางรูปนันทาด้วย ย่อมทรงเห็น ซึ่งหญิงนั้น แล ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. พระนางรูปนันทาเข้าไปสู่ที่ประทับพร้อมกับภิกษุณีทั้งหลาย ยืนอยู่ข้างหลังพวกภิกษุณี ถวายบังคมพระบรมศาสดาด้วยเบญจางคประดิษฐ์แล้ว นั่งลงในระหว่างภิกษุณีทั้งหลาย ทรงแลดูพระบรมศาสดาตั้งแต่พระบาทขึ้นไป ทรงเห็นพระรูปโฉมของพระบรมศาสดา อันงดงามด้วยพระลักษณะ อันรุ่งเรืองด้วยอนุพยัญชนะ ล้อมรอบด้วยพระรัศมีวาหนึ่ง ทรงแลดูพระพักตร์อันผุดผ่องดุจพระจันทร์เพ็ญ เหลือบไปเห็นรูปหญิงซึ่งยืนอยู่ใกล้ ๆ ฯ พระนางมองดูหญิงนั้นแล้ว หันมามองดูตัวเอง ก็เหยียดตนลงเทียบนางกาเบื้องหน้านางพญาหงส์ทอง ฯ ตั้งแต่เวลาที่ (พระนาง) ทรงเห็นรูปอันสําเร็จแล้วด้วยฤทธิ์นั่นแล พระเนตรทั้ง ๒ ของพระนางก็วิงเวียนแล้ว ฯ พระนางมีพระทัยอันสิริโฉมของร่างกายทุกส่วนดึงดูดไปหมดแล้วว่า แม้ผมของหญิงนี้ก็งาม แม้หน้าผากก็งาม ดังนี้ ได้มีความเยื่อใยในรูปนั้นอย่างรุนแรง ฯ พระบรมศาสดา ทรงทราบความยินดีอย่างสุดซึ้งในรูปนั้นของพระนาง พอเมื่อจะทรงแสดงธรรม จึงทรงแสดงรูปนั้นให้ล่วงเลยภาวะของผู้มีอายุ ๑๖ ปี มีอายุราว ๒๐ ปี ฯ พระนางรูปนันทาทอดพระเนตรเห็นแล้ว ได้มีพระทัยเบื่อหน่ายหน่อยหนึ่งว่า รูปนี้ไม่เหมือนรูปก่อนหนอ ดังนี้ ฯ พระบรมศาสดา (ทรงแสดงความแปรเปลี่ยนเพศ) ของหญิงนั้น โดยลําดับทีเดียว คือ เพศหญิงคลอดบุตรครั้งเดียว เพศหญิงกลางคน เพศหญิงแก่ (และ) เพศหญิงแก่คร่ำคร่าแล้วเพราะชรา ฯ แม้พระนางก็ทรงเบื่อหน่ายรูปนั้น ในเวลาที่ทรุดโทรมเพราะชราโดยลําดับ เหมือนกันว่า แม้รูปนี้ก็หายไปแล้ว แม้รูปนี้ก็หายไปแล้ว ดังนี้ ครั้นทรงเห็นรูปนั้นมีฟันหัก ผมหงอก หลังโกง มี (ซี่โครง) คดดุจกลอน มีไม้เท้ายันไปข้างหน้างก ๆ เงิ่น ๆ อยู่ ก็ทรงเบื่อหน่ายเหลือเกิน ฯ ลําดับนั้น พระบรมศาสดา ทรงแสดงรูปหญิงนั้นให้เป็นรูปถูกพยาธิครอบงําแล้ว ฯ ในขณะนั้นนั่นเอง หญิงนั้นทิ้งไม้เท้าและพัดใบตาล ร้องเสียงขรม ล้มลงที่ภาคพื้น จมลงในปัสสาวะและอุจจาระของตน กลิ้งเกลือกไปมา ฯ พระนางรูปนันทาทรงเห็นหญิงนั้นแล้ว ทรงเบื่อหน่ายเต็มที ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๔
แปล โดยพยัญชนะ
(สานุสามเณร ภาค ๗ หน้า ๑๔๘ – ๑๔๙)
๑. มาสสฺส อฏฺฐ ทิวเส ปาโต ว อุฏฺฐาย อุทกมาลเก อุทกํ อุปฏฺฐาเปตฺวา ธมฺมสฺสวนคฺคํ สมฺมชฺชิตฺวา ทีปํ ชาเลตฺวา มธุรสฺสเรน ธมฺมสฺสวนํ โฆเสติ ฯ ภิกฺขู ตสฺส ถามํ ญตฺวา ปทภาณํ ภณ สามเณราติ อชฺเฌสนฺติ ฯ โส มยฺหํ หทยํ วาโต วา รุชฺชติ กาโส วา พาธตีติ กญฺจิ ปจฺจาหารํ อกตฺวา ธมฺมาสนํ อภิรูหิตฺวา อากาสคงฺคํ โอตาเรนฺโต วิย ปทภาณํ วตฺวา โอตรนฺโต มยฺหํ มาตาปิตูนํ อิมสฺมึ ภญฺเญ ปตฺตึ ทมฺมีติ วทติ ฯ ตสฺส มนุสฺสา มาตาปิตูนํ ปตฺติยา ทินฺนภาวํ น ชานนฺติ ฯ อนนฺตรตฺตภาเว ปนสฺส มาตา ยกฺขินี หุตฺวา นิพฺพตฺติ ฯ สา เทวตาหิ สทฺธึ อาคนฺตฺวา ธมฺมํ สุตฺวา สามเณเรน ทินฺนํ ปตฺตึ อนุโมทามิ ตาตาติ วทติ ฯ สีลสมฺปนฺนา จ นาม ภิกฺขู สเทวกสฺส โลกสฺส ปิยา โหนฺติ ตสฺมา สามเณเร เทวตา สลชฺชา สคารวา มหาพฺรหฺมานํ วิย อคฺคิกฺขนฺธํ วิย จ ตํ มญฺญนฺติ ฯ สามเณเร คารเวน ตญฺจ ยกฺขินึ ครุํ กตฺวา ปสฺสนฺติ ธมฺมสฺสวนยกฺขสมาคมาทีสุ สานุมาตาติ ยกฺขินิยา อคฺคาสนํ อคฺโคทกํ อคฺคปิณฺฑํ เทนฺติ ฯ มเหสกฺขาปิ ยกฺขา ตํ ทิสฺวา มคฺคา โอกฺกมนฺติ อาสนา วุฏฺฐหนฺติ ฯ
แปล โดยอรรถ
(สานุสามเณร ภาค ๗ หน้า ๑๔๙ – ๑๕๐)
๒. โส อุกฺกณฺฐิตภาวํ อาโรเจสิ ฯ สทฺธา อุปาสิกา นานปฺปกาเรน ฆราวาเส อาทีนวํ ทสฺเสตฺวา ปุตฺตํ โอวทมานาปิ สญฺญาเปตุํ อสกฺโกนฺตี อปฺเปวนาม อตฺตโน ธมฺมตายปิ สลฺลกฺเขยฺยาติ อนุยฺโยเชตฺวา ติฏฺฐ ตาต ยาว เต ยาคุภตฺตํ สมฺปาเทมิ ยาคุํ ปิวิตฺวา กตภตฺตกิจฺจสฺส เต มนาปานิ วตฺถานิ นีหริตฺวา ทสฺสามีติ วตฺวา อาสนํ ปญฺ าเปตฺวา อทาสิ ฯ นิสีทิ สามเณโร ฯ อุปาสิกา มุหุตฺเตเนว ยาคุขชฺชกํ สมฺปาเทตฺวา อทาสิ ฯ อถ สา ภตฺตํ สมฺปาเทสฺสามีติ อวิทูเร นิสินฺนา ตณฺฑุเล โธวติ ฯ ตสฺมึ สมเย สา ยกฺขินี กหํ นุ โข สามเณโร กจฺจิ ภิกฺขาหารํ ลภติ โนติ อาวชฺชมานา ตสฺส วิพฺภมิตุกามตาย นิสินฺนภาวํ ญตฺวา มา เหว โข เม เทวตานํ อนฺตเร ลชฺชํ อุปฺปาเทยฺย คจฺฉามิสฺส วิพฺภมเน อนฺตรายํ กริสฺสามีติ อาคนฺตฺวา ตสฺส สรีเร อธิมุจฺจิตฺวา คีวํ ปริวตฺเตตฺวา ภูมิยํ ปาเตสิ ฯ โส อกฺขีหิ ปริวตฺเตหิ เขเฬน ปคฺฆรนฺเตน ภูมิยํ วิปฺผนฺทิ ฯ อุปาสิกา ปุตฺตสฺส ตํ วิปฺปการํ ทิสฺวา เวเคนาคนฺตฺวา ปุตฺตํ อาลิงฺคิตฺวา อุรูสุ นิปชฺชาเปสิ ฯ สกลคามวาสิโน อาคนฺตฺวา พลิกมฺมาทีนิ กรึสุ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. อ. สามเณร นั้น ลุกขึ้นแล้ว ในเวลาเช้าเทียว เข้าไปตั้งไว้แล้ว ซึ่งน้ำ ในโรงแห่งน้ำ กวาดแล้ว ซึ่งโรงเป็นที่ฟังซึ่งธรรม ยังประทีป ให้โพลงแล้ว ย่อมประกาศ ซึ่งอันฟังซึ่งธรรม ด้วยเสียงอันไพเราะ ตลอดวัน ท. ๘ แห่งเดือน ฯ อ. ภิกษุ ท. รู้แล้ว ซึ่งเรี่ยวแรง ของสามเณรนั้น ย่อมเชื้อเชิญว่า แน่ะสามเณร อ. เธอ จงกล่าว กล่าวด้วยบท ดังนี้ ฯ อ. สามเณรนั้น ไม่กระทําแล้ว ซึ่งความผัดเพี้ยน อะไร ๆ ด้วยอันคิดว่า อ. ลม ย่อมเสียดแทง ซึ่งหัวใจ ของเรา หรือ, หรือว่า อ. โรคไอ ย่อมเบียดเบียน ดังนี้ ขึ้นเฉพาะแล้ว สู่ธรรมาสน์ กล่าวแล้ว กล่าวด้วยบท ราวกะ อ. เทวดาผู้วิเศษ ยังน้ำในอากาศ ให้ข้ามลงอยู่ เมื่อข้ามลง ย่อมกล่าวว่า อ. เรา ย่อมให้ ซึ่งส่วนบุญ ในเพราะอันกล่าว นี้ แก่มารดาและบิดา ท. ของเรา ดังนี้ ฯ อ. มนุษย์ ท. ย่อมไม่รู้ ซึ่งความที่แห่งส่วนบุญ เป็นส่วนอันสามเณรนั้น ให้แล้ว แก่มารดาและบิดา ท. ฯ ก็ อ. มารดา ของสามเณรนั้น เป็นนางยักษิณี เป็น บังเกิดแล้ว ในอัตตภาพอันไม่มีระหว่าง ฯ อ. นางยักษิณีนั้น มาแล้ว กับ ด้วยเทวดา ท. ฟังแล้ว ซึ่งธรรม ย่อมกล่าวรับ ซึ่งส่วนบุญ อันอันสามเณร ให้แล้วว่า แน่ะพ่อ อ. ฉัน อนุโมทนาอยู่ ดังนี้ ฯ ก็ อ. ภิกษุ ท. ชื่อผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยศีล เป็นผู้เป็นที่รัก ของโลก อันเป็นไป กับด้วยเทวโลก ย่อมเป็น; เพราะฉะนั้น อ. เทวดา ท. เป็นผู้เป็นไปกับด้วยความละอาย เป็นผู้เป็นไปกับด้วยความเคารพ ในสามเณร เป็น ย่อมสําคัญ ซึ่งสามเณรนั้น ผู้ราวกะว่า มหาพรหมด้วย ผู้ราวกะว่า กองแห่งไฟด้วย ฯ อนึ่ง อ. เทวดา ท. ย่อมเห็น ซึ่งนางยักษิณีนั้น กระทํา ให้เป็นที่เคารพ เพราะความเคารพ ในสามเณร, ย่อมให้ ซึ่งอาสนะอันเลิศ ซึ่งน้ำอันเลิศ ซึ่งก้อนข้าวอันเลิศ แก่นางยักษิณี ในสมัย ท. มีสมัย เป็นที่ฟังซึ่งธรรมและสมัยเป็นที่มาพร้อมกันแห่งยักษ์เป็นต้น ด้วยความสําคัญว่า อ. นางยักษิณีนี้ เป็นมารดา ของสามเณรชื่อว่าสานุ ย่อมเป็น ดังนี้ ฯ อ. ยักษ์ ท. แม้ผู้มีศักดิ์ใหญ่ เห็นแล้ว ซึ่งนางยักษิณีนั้น ย่อมก้าวลง จากหนทาง, ย่อมลุกขึ้น จากที่นั่ง ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. สามเณรนั้นบอกความที่ตนเบื่อหน่ายแล้ว ฯ อุบาสิกาผู้มีศรัทธา แม้แสดงโทษในการครองเรือน โดยประการต่าง ๆ ตักเตือนบุตรอยู่ ก็ไม่อาจให้เธอยินยอมได้ (แต่) ก็ไม่ส่งไปเสีย ด้วยคิดว่า “ถึงอย่างไร เธอพึงกําหนดได้แม้ตามธรรมดาของตน” กล่าวเพียงว่า “พ่อ โปรดรออยู่จนกว่าฉันจะจัดยาคูและภัตรเพื่อพ่อเสร็จ, ฉันจักนําผ้าที่ถูกใจมาถวาย แก่พ่อผู้ดื่มยาคูทําภัตกิจแล้ว” แล้วได้ปูลาดอาสนะถวาย ฯ สามเณรนั่งลงแล้ว ฯ อุบาสิกาจัดแจงยาคูและของเคี้ยวเสร็จ โดยครู่เดียวเท่านั้น ได้ถวายแล้ว ฯ ลําดับนั้น อุบาสิกาคิดว่า เราจักจัดแจงภัตร นั่งลงในที่ไม่ไกล ซาวข้าวสารอยู่ ฯ สมัยนั้น นางยักษิณีนั้นใคร่ครวญอยู่ว่า สามเณรอยู่ที่ไหนหนอแล เธอได้ภิกษาหาร หรือยังไม่ได้ ทราบว่าเธอนั่งอยู่แล้ว ด้วยความเป็นผู้ใคร่จะสึก จึงคิดว่า ก็เธอ อย่าพึงทําให้เราขายหน้าเทวดาทั้งหลายเลย เราจะไปทําการขัดขวางการสึกของเธอ ดังนี้แล้ว จึงมาสิงในร่าง ของสามเณรนั้น บิดคอให้ล้มลงบนพื้นดิน ฯ เธอตาเหลือก ๒ ข้าง น้ำลายไหล ดิ้นบนพื้นดินแล้ว ฯ อุบาสิกาเห็นอาการแปลกนั้นของบุตร รีบมาอุ้มบุตรแล้วให้นอนบนตัก ฯ ชาวบ้านทั้งสิ้น มาทําพลีกรรมเป็นต้น ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๔ (ครั้งที่ ๒)
แปล โดยพยัญชนะ
(ติสฺสตฺเถร ภาค ๗ หน้า ๙ – ๑๐)
๑. เถโรปิ สุตฺตญฺเจว สูจิโย จ สํวิทหิตฺวา จีวรการเก ทหรสามเณเร สนฺนิปาเตตฺวา ภคินิยา สนฺติกํ คนฺตฺวา ตํ เม สาฏกํ เทถ จีวรํ การาเปสฺสามีติ อาห ฯ สา นวหตฺถํ สาฏกํ นีหริตฺวา กนิฏฺฐภาติกสฺส หตฺเถ เปสิ ฯ โส ตํ คเหตฺวา วิจาเรตฺวา มม สาฏโก ถูโล อฏฺฐหตฺโถ อยํ สุขุโม นวหตฺโถ นายํ มม สาฏโก ตุมฺหากํ เอส น เม อิมินา อตฺโถ ตเมว เม เทถาติ อาห ฯ ภนฺเต ตุมฺหากเมว เอโส คณฺหถ นนฺติ ฯ โส เนว อิจฺฉิ ฯ อถสฺส อตฺตนา กตกิจฺจํ สพฺพํ อาโรเจตฺวา ภนฺเต ตุมฺหากเมว เอส คณฺหถ นนฺติ อทาสิ ฯ โส ตํ อาทาย วิหารํ คนฺตฺวา จีวรกมฺมํ ปฏฺฐเปสิ ฯ อถสฺส ภคินี จีวรการกานํ อตฺถาย ยาคุภตฺตาทีนิ สมฺปาเทสิ ฯ จีวรสฺส นิฏฺฐิตทิวเส ปน อติเรกสกฺการํ กาเรสิ ฯ โส จีวรํ โอโลเกตฺวา ตสฺมึ อุปฺปนฺนสิเนโห เสฺวทานิ นํ ปารุปิสฺสามีติ สํหริตฺวา จีวรวํเส เปตฺวา ตํ รตฺตึ ภุตฺตาหารํ ชิราเปตุํ อสกฺโกนฺโต กาลํ กตฺวา ตสฺมึเยว จีวเร อูกา หุตฺวา นิพฺพตฺติ ฯ ภคินีปิสฺส กาลกิริยํ สุตฺวา ภิกฺขูนํ ปาเทสุ ปวตฺตมานา โรทิ ฯ ภิกฺขู ตสฺส สรีรกิจฺจํ กตฺวา คิลานุปฏฺฐากสฺส อภาเวน ตํ สงฆสฺเสว ปาปุณาติ ภาเชสฺสาม นนฺติ ตํ จีวรํ นีหราเปสุํ ฯ อูกา อิเม มม สนฺตกํ วิลุมฺปนฺตีติ วิรวนฺตี อิโต จิโต จ สนฺธาวิ ฯ สตฺถา คนฺธกุฏิยํ นิสินฺโน ว ทิพฺพาย โสตธาตุยา ตํ สทฺทํ สุตฺวา อานนฺท ติสฺสสฺส จีวรํ อภาเชตฺวา สตฺตาหํ นิกฺขิปิตุํ วเทหีติ อาห ฯ เถโร ตถา กาเรสิ ฯ
แปล โดยอรรถ
(ติสฺสตฺเถร ภาค ๗ หน้า ๑๐)
๒. สาปิ สตฺตเม ทิวเส กาลํ กตฺวา ตุสิตวิมาเน นิพฺพตฺติ ฯ สตฺถา อฏฺ เม ทิวเส ติสฺสสฺส จีวรํ ภาเชตฺวา คณฺหนฺตูติ อาณาเปสิ ฯ ภิ กฺขู ตถา กรึสุ ฯ ภิกฺขู ธมฺมสภายํ กถํ สมุฏฺฐาเปสุํ กสฺมา นุ โข สตฺถา ติสฺสสฺส จีวรํ สตฺต ทิวเส ปาเปตฺวา อฏฺ เม ทิวเส คณฺหิตุํ อนุชานีติ ฯ สตฺถา อาคนฺตฺวา ภิกฺขเว ติสฺโส อตฺตโน จีวเร อูกา หุตฺวา นิพฺพตฺโต ตุมฺเหหิ ตสฺมึ ภาชิ ยมาเน อิเม มม สนฺติกํ วิลุมฺปนฺตีติ วิรวนฺโต อิโต จิโต จ ธาวิ โส ตุมฺเหหิ จีวเร คยฺหมาเน ตุมฺเหสุ มนํ ปทุสฺสิตฺวา นิรเย นิพฺพตฺเตยฺย เตนาหํ จีวรํ นิกฺขิปาเปสึ อิทานิ ปน โส ตุสิตวิมาเน นิพฺพตฺโต เตน โว มยา จีวรคฺคหณํ อนุญฺ าตนฺติ วตฺวา ปุน เตหิ ภาริยา วต อยํ ภนฺเต ตณฺหา นามาติ วุตฺเต อาม ภิกฺขเว อิเมสํ สตฺตานํ ตณฺหา นาม ภาริยา ยถา อยโต มลํ อุฏฺฐหิตฺวา อยเมว ขาทติ วินาเสติ อปริโภคํ กโรติ เอวเมวายํ ตณฺหา อิเมสํ สตฺตานํ อพฺภนฺตเร อุปฺปชฺชิตฺวา เต สตฺเต นิรยาทีสุ นิพฺพตฺตาเปติ วินาสํ ปาเปตีติ วตฺวา อิมํ อาห ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. แม้ อ. พระเถระ จัดแจงแล้ว ซึ่งด้าย ด้วยนั่นเทียว ซึ่งเข็ม ท. ด้วย ยังภิกษุหนุ่มและสามเณร ท. ผู้กระทําซึ่งจีวร ให้ประชุมกันแล้ว ไปแล้ว สู่สํานัก ของพี่สาว กล่าวแล้วว่า อ. ท่าน จงให้ ซึ่งผ้าสาฎกนั้น แก่อาตมา เถิด อ. อาตมา จักยังบุคคล ให้กระทํา ซึ่งจีวร ดังนี้ ฯ อ. พี่ สาวนั้น นําออกแล้ว ซึ่งผ้าสาฎก อันมีศอก ๙ เป็นประมาณ วางไว้แล้ว ที่มือ ของน้องชายผู้น้อยที่สุด ฯ อ. พระเถระนั้น รับแล้ว ซึ่งผ้าสาฎกนั้น ใคร่ครวญแล้ว กล่าวแล้วว่า อ. ผ้าสาฎก ของอาตมา เป็นผ้าเนื้อหยาบ เป็นผ้ามีศอก ๘ เป็นประมาณ ย่อมเป็น อ. ผ้าสาฎก นี้ เป็นผ้าเนื้อละเอียด เป็นผ้ามีศอก ๙ เป็นประมาณ ย่อมเป็น อ. ผ้าสาฎก นี้ เป็นผ้าสาฎก ของอาตมา ย่อมเป็น หามิได้ อ. ผ้าสาฎกนั่น เป็นผ้าสาฎก ของท่าน ย่อมเป็น อ. ความต้องการ ด้วยผ้าสาฎกนี้ มีอยู่ แก่อาตมา หามิได้ อ. ท่าน ขอจงให้ ซึ่งผ้าสาฎกนั้นนั่นเทียว แก่อาตมา ดังนี้ ฯ อ. พี่สาวนั้น กล่าวแล้วว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ผ้าสาฎกนั่น เป็นผ้าสาฎก ของท่านนั่นเทียว ย่อมเป็น อ. ท่าน ขอจงรับ ซึ่งผ้าสาฎกนั้น เถิด ดังนี้ ฯ อ. พระเถระนั้น ไม่ปรารถนาแล้วนั่นเทียว ฯ ครั้งนั้น อ. พี่ สาว บอกแล้ว ซึ่งกิจ อันตน กระทําแล้ว ทั้งปวง แก่พระเถระนั้น กล่าวแล้วว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ผ้าสาฎกนั่น เป็นผ้าสาฎก ของท่าน นั่นเทียว ย่อมเป็น อ. ท่าน ขอจงรับ ซึ่งผ้าสาฎกนั้น ดังนี้ ได้ถวายแล้ว ฯ อ. พระเถระนั้น ถือเอาแล้ว ซึ่งผ้าสาฎกนั้น ไปแล้ว สู่วิหาร เริ่มตั้งแล้ว ซึ่งกรรมคืออันเย็บซึ่งจีวร ฯ ครั้งนั้น อ. พี่สาว ของพระเถระนั้น ยังโภชนะ ท. มีข้าวต้มและข้าวสวยเป็นต้น ให้ถึงพร้อมแล้ว เพื่อประโยชน์ แก่ภิกษุหนุ่มและสามเณร ท. ผู้กระทําซึ่งจีวร ฯ ก็ อ. พี่สาวนั้น ยังบุคคล ให้กระทําแล้ว ซึ่งสักการะอันยิ่งเกิน ในวันแห่งจีวรสําเร็จแล้ว ฯ อ. พระเถระนั้น แลดูแล้ว ซึ่งจีวร เป็นผู้มีความรักอันเกิดขึ้นแล้ว ในจีวรนั้น เป็น คิดแล้วว่า อ. เรา จักห่ม ซึ่งจีวรนั้น ในกาลนี้ ในวันพรุ่ง ดังนี้ พับแล้ว พาดไว้ แล้ว บนราวแห่งจีวร ไม่อาจอยู่ เพื่ออั นยังอาหารอันตนฉันแล้ว ให้ย่อย ตลอดราตรีนั้น กระทําแล้ว ซึ่งกาละ เป็นเล็น เป็น บังเกิดแล้ว ในจีวร นั้นนั่นเทียว ฯ แม้ อ. พี่สาว ฟังแล้ว ซึ่งการกระทําซึ่งกาละ ของพระเถระนั้น ร้องไห้กลิ้งเกลือกอยู่แล้ว ใกล้เท้า ท. ของภิกษุ ท. ฯ อ. ภิกษุ ท. กระทําแล้ว ซึ่งกิจคือการเผาซึ่งสรีระ ของพระเถระนั้น กล่าวแล้วว่า อ. จีวรนั้น ย่อมถึง แก่สงฆ์นั่นเทียว เพราะความไม่มี แห่งคิลานุปัฏฐาก อ. เรา ท. จักแบ่ง ซึ่งจีวรนั้น ดังนี้ ยังกันและกัน ให้นําออกแล้ว ซึ่งจีวร นั้น ฯ อ. เล็น ร้องอยู่ว่า อ. ภิกษุ ท. เหล่านี้ ยื้อแย่งอยู่ ซึ่งจีวร อันเป็นของมีอยู่ ของเรา ดังนี้ แล่นไปแล้ว ข้างนี้ด้วย ๆ ฯ อ. พระศาสดาประทับนั่งแล้ว ในพระคันธกุฎีเทียว ทรงสดับแล้ว ซึ่งเสียง นั้น ด้วยพระโสตธาตุ อันเป็นทิพย์ ตรัสแล้วว่า ดูก่อนอานนท์ อ. เธอ จงบอก เพื่ออัน ไม่แบ่งแล้ว ซึ่งจีวร ของติสสะ เก็บไว้ ตลอดวัน ๗ ดังนี้ ฯ อ. พระเถระ ยังภิกษุ ท. ให้กระทําแล้ว เหมือนอย่างนั้น ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. แม้เล็นนั้น ตายในวันที่ ๗ เกิดในวิมานชั้นดุสิตแล้ว ฯ วันที่ ๘ พระบรมศาสดารับสั่ งว่า ภิกษุทั้งหลาย จงแบ่งจีวรของติสสะแล้วถือเอา ฯ พวกภิกษุทําอย่างนั้นแล้ว ฯ พวกภิกษุสนทนากันในธรรมสภาว่า เหตุไรหนอแล พระบรมศาสดา จึงให้เก็บจีวรของพระติสสะไว้สิ้น ๗ วัน แล้วทรงอนุญาตเพื่อถือเอาในวันที่ ๘ ฯ พระบรมศาสดาเสด็จมาแล้ว ตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย ติสสะเกิดเป็นเล็นที่จีวรของตน เมื่อพวกเธอจะแบ่งจีวรนั้น วิ่งร้องไปข้างโน้นและข้างนี้ว่า ภิกษุพวกนี้แย่งจีวรของเรา เมื่อพวกเธอถือเอาจีวรอยู่ เขาไม่พอใจพวกเธอแล้วพึงเกิดในนรก เพราะเหตุนั้น เราจึงให้เก็บจีวรไว้ ก็บัดนี้เขาเกิดในวิมานดุสิตแล้ว เพราะเหตุนั้น เราจึงอนุญาตให้พวกเธอถือเอาจีวรได้ เมื่อภิกษุพวกนั้นกราบทูลอีกว่า พระเจ้าข้า ขึ้นชื่อว่าตัณหานี้หยาบหนอ จึงตรัสว่า อย่างนั้น ภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่าตัณหาของสัตว์เหล่านี้หยาบ สนิมตั้งขึ้นแต่เหล็ก ย่อมกัดเหล็ก นั่นเอง ย่อมให้เหล็กเสียหายไป ทําให้เป็นของใช้ สอยไม่ได้ ฉันใด ตัณหานี้ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน เกิดขึ้นภายในสัตว์เหล่านี้แล้ว ย่อมให้สัตว์เหล่านั้นเกิดในอบายมีนรกเป็นต้น ให้ถึงความพินาศ ดังนี้ ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๓
แปล โดยพยัญชนะ
(อนภิรตภิกฺขุ ภาค ๖ หน้า ๑๐๓ – ๑๐๔)
๑. โส (กนิฏฺโฐ) ทหรสฺสาคตกาเล ปาทมูเล นิปติตฺวา ปริวตฺเตนฺโต โรทิตฺวา ภนฺเต ปิตา โว วิลปนฺโต ว กาลกโต มยฺหํ ปน เตน กหาปณสตํ หตฺเถ ปิตํ เตน กึ กโรมีติ อาห ฯ ทหโร น เม กหาปเณหิ อตฺโถติ ปฏิกฺขิปิตฺวา อปรภาเค จินฺเตสิ กึ เม ปรกุเลสุ ปิณฺฑาย จริตฺวา ชีวิเตน สกฺกา ตํ กหาปณสตํ นิสฺสาย ชีวิตุํ วิพฺภมิสฺสามีติ ฯ โส อนภิรติยา ปีฬิโต วิสฺสฏฺฐสชฺฌายกมฺมฏฺฐาโน ปณฺฑุโรคี วิย อโหสิ ฯ อถ นํ ทหรสามเณรา กิมิทนฺติ ปุจฺฉิตฺวา อุกฺกณฺิ โตมฺหีติ วุตฺเต อาจริยุปชฺฌายานํ อาจิกฺขึสุ ฯ อถ นํ เต สตฺถุ สนฺติกํ เนตฺวา สตฺถุ ทสฺเสสุํ ฯ สตฺถา สจฺจํ กิร ตฺวํ ภิกฺขุ อุกฺกณฺิ โตติ ปุจฺฉิตฺวา อาม ภนฺเตติ วุตฺเต กสฺมา เอวมกาสิ อตฺถิ ปน เต โกจิ ชีวิตปฺปจฺจโยติ อาห ฯ อาม ภนฺเตติ ฯ กินฺเต อตฺถีติ ฯ กหาปณสตํ ภนฺเตติ ฯ เตนหิ กติปิ ตาว สกฺขรา อาหร คเณตฺวา ชานิสฺสสิ สกฺกา วา ตตฺตเกน ชีวิตุํ โน วาติ ฯ โส สกฺขรา อาหริ ฯ อถ นํ สตฺถา อาห ปริโภคตฺถาย ตาว ปณฺณาสํ เปหิ ทฺวินฺนํ โคณานํ อตฺถาย จตุวีสติ เอตฺตกนฺนาม วีชตฺถาย ยุคนงฺคลตฺถาย กุทฺทาลตฺถาย วาสีผรสุอตฺถายาติ ฯ เอวํ คณิยมาเน ตํ กหาปณสตํ นปฺปโหติ ฯ อถ นํ สตฺถา ภิกฺขุ ตว กหาปณา อปฺปกา กถํ เอเต นิสฺสาย ตณฺหํ ปูเรสฺสสิ อตีเต กิร ปณฺฑิตา จกฺกวตฺติรชฺชํ กาเรตฺวา อปฺโปิ ตมตฺเตน ทฺวาทสโยชนฏฺ าเน กฏิปฺปมาเณน สตฺตรตนวสฺสํ วสฺสาเปตุํ สมตฺถา ยาว ฉตฺตึส สกฺกา จวนฺติ เอตฺตกํ กาลํ เทวรชฺชํ กาเรตฺวาปิ มรณกาเล ตณฺหํ อปูเรตฺวา ว กาลมกํสูติ วตฺวา เตน ยาจิโต อตีตํ อาหริ ฯ
แปล โดยอรรถ
(อคฺคิทตฺตปุโรหิต ภาค ๖ หน้า ๑๐๕ – ๑๐๖)
๒. โส (อคฺคิทตฺโต) กิร มหาโกสลสฺส ปุโรหิโต อโหสิ ฯ อถ นํ ปิตริ กาลกเต ราชา ปเสนทิโกสโล อยํ ปิตุ เม ปุโรหิโตติ คารเวน ตสฺมึเยว ฐาเน เปตฺวา ตสฺส อตฺตโน อุปฏฺฐานํ อาคตกาเล ปจฺจุคฺคมนํ กโรติ อาจริย อิธ นิสีทถาติ สมานาสนํ ทาเปสิ ฯ โส จินฺเตสิ อยํ ราชา อติวิย มยิ คารวํ กโรติ น โข ปน ราชูนํ นิจฺจกาลเมว สกฺกา จิตฺตํ คเหตุํ ราชา ปน ยุวา ทหโร สมานวเยเนว หิ สทฺธึ รชฺชํ นาม สุขํ โหติ อหญฺจมฺหิ มหลฺลโก ปพฺพชิตุํ เม ยุตฺตนฺติ ฯ โส ราชานํ ปพฺพชฺชํ อนุชานาเปตฺวา นคเร เภริญฺจาราเปตฺวา สตฺตาเหน สพฺพํ อตฺตโน ธนํ ทานมุเข วิสฺสชฺเชตฺวา พาหิรกปฺปพฺพชฺชํ ปพฺพชิ ฯ ตํ นิสฺสาย ทส ปุริสสหสฺสานิ อนุปฺปพฺพชึสุ ฯ โส เตหิ สทฺธึ องฺคมคธานญฺจ กุรุรฏฺ สฺส จ อนฺตราวาสํ กปฺเปตฺวา อิมํ โอวาทํ เทติ ตาตา ยสฺส โว กามวิตกฺกาทโย อุปฺปชฺชนฺติ โส นทิโต เอเกกํ วาลุกาปุฏํ อุทฺธริตฺวา อิมสฺมึ ฐาเน โอกิรตูติ ฯ เต สาธูติ ปฏิสฺสุณิตฺวา กามวิตกฺกาทีนํ อุปฺปนฺนกาเล ตถา กรึสุ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. อ. น้องชายผู้น้อยที่สุดนั้น หมอบลงแล้ว ณ ที่ใกล้แห่งเท้า ร้องไห้กลิ้งเกลือกอยู่แล้ว ในกาลแห่งภิกษุหนุ่มมาแล้ว กล่าวแล้วว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. บิดา ของท่าน บ่นเพ้ออยู่เทียว เป็นผู้มีกาละอันกระทําแล้ว ย่อมเป็น ก็ อ. ร้อยแห่งกหาปณะ อันบิดา ของท่านนั้น วางไว้ แล้ว ในมือ ของกระผม อ. กระผม จะกระทํา ซึ่งอะไร ด้วยร้อยแห่งกหาปณะนั้น ดังนี้ ฯ อ. ภิกษุหนุ่ม ห้ามแล้วว่า อ. ความต้องการ ด้วยกหาปณะ ท. มีอยู่ แก่เรา หามิได้ ดังนี้ คิดแล้วว่า อ. ประโยชน์ อะไร แก่เรา ด้วยการเที่ยวไป เพื่อก้อนข้าว ในตระกูลของบุคคลอื่น ท. แล้วจึงเป็นอยู่ อันเรา อาจ เพื่ออันอาศัย ซึ่งร้อยแห่งกหาปณะนั้นแล้วจึงเป็นอยู่ อ. เรา จักสึก ดังนี้ ในกาลอันเป็นส่วนอื่นอีก ฯ อ. ภิกษุหนุ่มนั้น ผู้อันความไม่ยินดียิ่งบีบคั้นแล้ว ผู้มีการสาธยายและกัมมัฏฐานอันสละแล้ว เป็นราวกะว่ามีโรคผอมเหลือง ได้เป็นแล้ว ฯ ครั้งนั้น อ. ภิกษุหนุ่มและสามเณร ท. ถามแล้ว ซึ่งภิกษุหนุ่ม นั้นว่า อ. เหตุนี้ อะไร ดังนี้ ครั้นเมื่อคําว่า อ. เรา เป็นผู้กระสันขึ้นแล้ว ย่อมเป็น ดังนี้ อันภิกษุหนุ่มนั้น กล่าวแล้ว บอกแล้ว แก่อาจารย์และอุปัชฌาย์ ท. ฯ ครั้งนั้น อ. อาจารย์และอุปัชฌาย์ ท. เหล่านั้น นําไปแล้ว ซึ่งภิกษุหนุ่มนั้น สู่สํานัก ของพระศาสดา แสดงแล้ว แก่พระศาสดา ฯ อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้วว่า ดูก่อนภิกษุ ได้ยินว่า อ. เธอ เป็นผู้กระสันขึ้นแล้ว ย่อมเป็น จริงหรือ ดังนี้ ครั้นเมื่อคําว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระเจ้าข้า อ.อย่างนั้น ดังนี้ อันภิกษุหนุ่มนั้น กราบทูลแล้ว ตรัสแล้วว่า อ. เธอ ได้กระทําแล้ว อย่างนี้ เพราะเหตุไร ก็ อ. ปัจจัยแห่งชีวิต อะไร ๆ ของเธอ มีอยู่ หรือดังนี้ ฯ อ. ภิกษุหนุ่ม กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระเจ้าข้า อ. อย่างนั้น ดังนี้ ฯ อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้วว่า อ. อะไร ของเธอ มีอยู่ ดังนี้ ฯ อ. ภิกษุหนุ่ม กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. ร้อยแห่งกหาปณะ มีอยู่ ดังนี้ ฯ อ. พระศาสดา ตรัสแล้วว่า ถ้าอย่างนั้น อ. เธอ จงนํามา ซึ่งก้อนกรวด ท. แม้เล็กน้อย ก่อน อ. เธอ นับแล้ว จักรู้ว่า อันเธอ อาจ เพื่ออันเป็นอยู่ ด้วยร้อยแห่งกหาปณะ อันมีประมาณเท่านั้น หรือ หรือว่า อันเธอ ไม่อาจ เพื่ออันเป็นอยู่ ด้วยร้อยแห่งกหาปณะ อันมีประมาณเท่านั้น ดังนี้ ดังนี้ ฯ อ. ภิกษุหนุ่มนั้น นํามาแล้ว ซึ่งก้อนกรวด ท. ฯ ครั้งนั้น อ. พระศาสดา ตรัสแล้วว่า อ. เธอ จงตั้งไว้ ซึ่งก้อนกรวด ท. ห้าสิบ เพื่อประโยชน์แก่ปัจจัยเป็นเครื่องบริโภค ก่อน จงตั้งไว้ ซึ่งก้อนกรวด ท. ยี่สิบสี่ เพื่อประโยชน์ แก่โค ท. สอง จงตั้งไว้ ซึ่งก้ อนกรวด ชื่ออันมีประมาณเท่านี้ เพื่อประโยชน์แก่พืช จงตั้งไว้ ซึ่งก้อนกรวด ชื่ออันมีประมาณเท่านี้ เพื่อประโยชน์แก่แอกและไถ จงตั้งไว้ ซึ่งก้อนกรวด ชื่ออันมีประมาณเท่านี้ เพื่อประโยชน์แก่จอบ จงตั้งไว้ ซึ่งก้อนกรวด ชื่ออันมีประมาณเท่านี้ เพื่อประโยชน์แก่มีดและขวาน ดังนี้ กะภิกษุนั้น ฯ ครั้นเมื่อจํานวนแห่งก้อนกรวด อันภิกษุนั้น นับอยู่ อย่างนี้ อ. ร้อยแห่งกหาปณะนั้น ย่อมไม่เพียงพอ ฯ ครั้งนั้น อ. พระศาสดา ตรัสแล้วว่า ดูก่อนภิกษุ อ. กหาปณะ ท. ของเธอ เป็นสภาพน้อย ย่อมเป็น อ. เธอ อาศัยแล้ว ซึ่งกหาปณะ ท. เหล่านั้น ยังความทะยานอยาก จักให้เต็ม อย่างไร ได้ยินว่า ในกาลอันเป็นไปล่วงแล้ว อ. บัณฑิต ท. ยังบุคคล ให้กระทําแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งพระราชาผู้จักรพรรดิ เป็นผู้สามารถ เพื่ออันยังฝนคือรัตนะเจ็ดให้ตก โดยประมาณแห่งสะเอว ในที่มีโยชน์สิบสองเป็นประมาณ ด้วยอาการ สักว่ามืออันตนปรบแล้ว เป็น แม้ยังเทวดาให้ กระทําแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งพระราชาแห่งเทพ, ตลอด อ. ท้าวสักกะ ท. สามสิบหกพระองค์ ย่อมเคลื่อน เพียงใด กาลอันมี ประมาณเพียงนั้น ยังความทะยานอยาก ไม่ให้เต็มแล้ว ในกาลเป็นที่ตายเทียว ได้กระทําแล้ว ซึ่งกาละ ดังนี้ กะภิกษุนั้น ผู้อันภิกษุนั้น ทูลวิงวอนแล้ว ทรงนํามาแล้ว ซึ่งเรื่องอันเป็นไปล่วงแล้ว ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. ดังได้สดับมา (อัคคิทัต) นั้น ได้เป็นปุโรหิตของพระเจ้ามหาโกศล ฯ ทีนั้น ครั้นเมื่อพระราชบิดาสวรรคตแล้ว พระราชาทรงพระนามว่าปเสนทิโกศล ทรงดําริว่า ผู้นี้ เป็นปุโรหิตของพระชนกเรา จึงทรงตั้งเขาไว้ในตําแหน่งนั้นนั่นแล เพราะความเคารพ ในเวลาที่เขามาสู่ที่บํารุงของพระองค์ ทรงทําการเสด็จลุกรับ รับสั่งให้พระราชทานอาสนะเสมอกัน ด้วยพระดํารัสว่า อาจารย์ เชิญนั่งบนอาสนะนี้ ฯ อัคคิทัตนั้น คิดว่า พระราชาพระองค์นี้ ทรงทําความเคารพในเราอย่างเหลือประมาณ แต่เราก็ไม่อาจเอาพระทัยพระราชาทั้งหลายได้ตลอดกาลเป็นนิตย์เทียว อนึ่ง พระราชาก็ยังทรงพระเยาว์ยังหนุ่มน้อย ธรรมดาว่าความเป็นพระราชากับคนผู้มีวัยเสมอกันนั่นแล เป็นเหตุให้เกิดความสุข ส่วนเราเป็นคนแก่ เราควรบวช ฯ เขากราบทูลให้พระราชาพระราชทานพระบรมราชานุญาตการบวชแล้ว ให้คนตีกลองเที่ยวไปในพระนครแล้ว สละทรัพย์ของตนทั้งหมดในการให้ทานเป็นสําคัญ ๗ วันแล้ว บวชเป็นนักบวชภายนอก ฯ บุรุษหมื่นหนึ่งอาศัยอัคคิทัต นั้น บวชตามแล้ว ฯ อัคคิทัตนั้น พร้อมนักบวชเหล่านั้น อยู่อาศัยระหว่างแคว้นอังคะ แคว้นมคธ และแคว้นกุรุ ให้โอวาทนี้ว่า พ่อทั้งหลาย บรรดาพวกเธอ ผู้ใดเกิดกามวิตกเป็นต้น ผู้นั้นจงขนหม้อทรายคนละหม้อ จากแม่น้ำ เกลี่ยลง ณ ที่นี้ ฯ นักบวชเหล่านั้น รับว่า ดีละ ในเวลากามวิตกเป็นต้นเกิดขึ้น ก็ทําอย่างนั้น ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๓ (ครั้งที่ ๒)
แปล โดยพยัญชนะ
(อตุลอุปาสก ภาค ๖ หน้า ๑๘๔ – ๑๘๕)
๑. โส กิร สาวตฺถีวาสี อุปาสโก ปญฺจสตอุปาสกปริวาโร เอกทิวสํ เต อุปาสเก อาทาย ธมฺมสฺสวนตฺถาย วิหารํ คนฺตฺวา เรวตตฺเถรสฺส สนฺติเก ธมฺมํ โสตุกาโม หุตฺวา เรวตตฺเถรํ วนฺทิตฺวา นิสีทิ ฯ โส ปนายสฺมา ปฏิสลฺลานาราโม สีโห วิย เอกจโร ตสฺมา เตน สทฺธึ น กิญฺจิ กเถสิ ฯ โส อยํ เถโร น กิญฺจิ กเถสีติ กุทฺโธ อุฏฺฐาย สารีปุตฺตตฺเถรสฺส สนฺติกํ คนฺตฺวา เอกมนฺตํ ฐิโต เถเรน เกนตฺเถน อาคตตฺถาติ วุตฺเต ภนฺเต อหํ อิเม อุปาสเก อาทาย ธมฺมสฺสวนตฺถาย เรวตตฺเถรํ อุปสงฺกมึ ตสฺส เม เถโร น กิญฺจิ กเถสิ โสหํ ตสฺส กุชฺฌิตฺวา อิธาคโต ธมฺมํ เม กเถถาติ อาห ฯ อถ เถโร เตนหิ อุปาสกา นิสีทถาติ พหุกํ กตฺวา อภิธมฺมกถํ กเถสิ ฯ อุปาสโก อภิธมฺมกถา นาม อติสณฺหา อติสุขุมา เถโร พหุํ อภิธมฺมเมว กเถสิ อมฺหากํ อิมินา โก อตฺโถติ กุชฺฌิตฺวา ปริสํ อาทาย อานนฺทตฺเถรสฺส สนฺติกํ อคมาสิ เถเรนาปิ กึ อุปาสกาติ วุตฺเต ภนฺเต มยํ ธมฺมสฺสวนตฺถาย เรวตตฺเถรํ อุปสงฺกมิมฺหา ตสฺส สนฺติเก อลฺลาปสลฺลาปมตฺถํปิ อลภิตฺวา กุทฺธา สารีปุตฺตตฺเถรสฺส สนฺติกํ อาคมิมฺหา โสปิ โน อติสณฺหํ พหุํ อภิธมฺมเมว กเถสิ อิมินา อมฺหากํ โก อตฺโถติ เอตสฺสาปิ กุชฺฌิตฺวา อิธาคตมฺเห กเถหิ โน ภนฺเต ธมฺมกถนฺติ ฯ เตนหิ นิสีทิตฺวา สุณาถาติ ฯ
แปล โดยอรรถ
(อตุลอุปาสก ภาค ๖ หน้า ๑๘๕ – ๑๘๖)
๒. เถโร เตสํ สุวิญฺเญยฺยํ กตฺวา อปฺปกเมว ธมฺมํ กเถสิ ฯ เต เถรสฺสาปิ กุชฺฌิตฺวา สตฺถุ สนฺติกํ คนฺตฺวา วนฺทิตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ ฯ อถ เน สตฺถา อาห กสฺมา อุปาสกา อาคตตฺถาติ ฯ ธมฺมสฺสวนตฺถาย ภนฺเตติ ฯ สุโต ปน โว ธมฺโมติ ฯ ภนฺเต มยํ อาทิโต เรวตตฺเถรํ อุปสงฺกมิมฺหา โส อมฺเหหิ สทฺธึ น กิญฺจิ กเถสิ ตสฺส กุชฺฌิตฺวา สารีปุตฺตตฺเถรํ อุปสงฺกมิมฺหา เตน โน พหุ อภิธมฺโม กถิโต ตํ อสลฺลกฺเขตฺวา กุชฺฌิตฺวา อานนฺทตฺเถรํ อุปสงฺกมิมฺหา เตน โน อปฺปมตฺตโก ว ธมฺโม กถิโต ตสฺสาปิ กุชฺฌิตฺวา อิธาคตมฺหาติ ฯ สตฺถา ตสฺส กถํ สุตฺวา อตุล โปราณโต ปฏฺฐาย อาจิณฺณเมเวตํ ตุณฺหีภูตมฺปิ พหุกถํปิ มนฺทกถํปิ ครหนฺติเยว เอกนฺตํ ครหิตพฺโพเยว หิ ปสํสิตพฺโพเยว วา นตฺถิ ราชาโนปิ เอกจฺเจ นินฺทนฺติ เอกจฺเจ ปสํสนฺติ มหาป วิมฺปิ จนฺทิมสุริเยปิ อากาสารทโยปิ จตุปฺปริสมชฺเฌ นิสีทิตฺวา ธมฺมํ กเถนฺตํ สมฺมาสมฺพุทฺธํปิ เอกจฺเจ นินฺทนฺติ เอกจฺเจ ปสํสนฺติ อนฺธพาลานํ หิ นินฺทา วา ปสํสา วา อปฺปมาณํ ปณฺฑิเตน ปน เมธาวินา นินฺทิโต นินฺทิโต นาม ปสํสิโต ปสํสิโต นาม โหตีติ วตฺวา อิมา คาถา อภาสิ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. ดังจะกล่าวโดยพิสดาร อ. อตุละนั้น เป็นอุบาสก ผู้อยู่ในเมืองชื่อว่าสาวัตถีโดยปกติ ผู้มีอุบาสกมีร้อยห้าเป็นประมาณเป็นบริวาร เป็น พาเอาแล้ว ซึ่งอุบาสก ท. เหล่านั้น ไปแล้ว สู่วิหาร เพื่อต้องการแก่อันฟังซึ่งธรรม ในวันหนึ่ง เป็นผู้ ใคร่เพื่ออันฟัง ซึ่งธรรม ในสํานัก ของพระเถระชื่อว่าเรวตะ เป็น ไหว้แล้ว ซึ่งพระเถระชื่อว่าเรวตะ นั่งแล้ว ฯ ก็ อ. พระเถระชื่อว่าเรวตะ ผู้มีอายุ นั้น เป็นผู้มีความหลีกเร้นเป็นที่มายินดี เป็นผู้เที่ยวไปผู้เดียว ราวกะ อ. ราชสีห์ ย่อมเป็น เพราะเหตุนั้น อ. พระเถระนั้น ไม่กล่าวแล้ว ซึ่งคํา อะไร ๆ กับ ด้วยอุบาสกนั้น ฯ อ. อุบาสกนั้น ผู้โกรธแล้วว่า อ. พระเถระนี้ ไม่กล่าวแล้ว ซึ่งคํา อะไร ๆ ดังนี้ ลุกขึ้นแล้ว ไปแล้ว สู่สํานัก ของพระเถระชื่อว่าสารีบุตร ยืนแล้ว ณ ที่สุดส่วนข้างหนึ่ง ครั้นเมื่อคําว่า อ. ท่าน ท. เป็นผู้มาแล้ว ด้วยความต้องการอะไร ย่อมเป็น ดังนี้ อันพระเถระ กล่าวแล้ว กล่าวแล้วว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. กระผม พาเอาแล้ว ซึ่งอุบาสก ท. เหล่านี้ เข้าไปหาแล้ว ซึ่งพระเถระชื่อว่าเรวตะ เพื่อต้องการ แก่อันฟังซึ่งธรรม อ. พระเถระ ไม่กล่าวแล้ว ซึ่งคํา อะไร ๆ แก่กระผม นั้น อ. กระผมนั้น โกรธแล้ว ต่อพระเถระนั้น เป็นผู้มาแล้ว ในที่นี้ ย่อมเป็น อ. ท่าน ขอจงกล่าว ซึ่งธรรม แก่กระผม ดังนี้ ฯ ครั้งนั้น อ. พระเถระ กล่าวแล้วว่า ดูก่อนอุบาสก ท. ถ้าอย่างนั้น อ. ท่าน ท. จงนั่งเถิด ดังนี้ กล่าวแล้ว ซึ่งอภิธรรมกถา กระทํา ให้เป็นถ้อยคํามาก ฯ อ. อุบาสก โกรธแล้วว่า ชื่อ อ. อภิธรรมกถา เป็นถ้อยคําอันละเอียดยิ่ง เป็นถ้อยคําอันสุขุมยิ่ง ย่อมเป็น อ. พระเถระ กล่าวแล้ว ซึ่งอภิธรรม อันมาก นั่นเทียว อ. ประโยชน์ อะไร ด้วยอภิธรรมนี้ มีอยู่ แก่เรา ท. ดังนี้ พาเอาแล้ว ซึ่งบริษัท ได้ไปแล้ว สู่สํานัก ของพระเถระชื่อว่าอานนท์, ครั้นเมื่อคําว่า ดูก่อนอุบาสก อ. อะไร ดังนี้ แม้อันพระเถระ กล่าวแล้ว กล่าวแล้วว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. กระผม ท. เข้าไปหาแล้ว ซึ่งพระเถระชื่อว่าเรวตะ เพื่ อต้องการแก่อันฟังซึ่งธรรม อ. กระผม ท. ไม่ได้แล้ว ซึ่งเหตุ แม้สักว่าการสนทนาและการปราศรัย ในสํานัก ของพระเถระนั้น โกรธแล้ว มาแล้ว สู่สํานัก ของพระเถระชื่อว่าสารีบุตร อ. พระเถระ แม้นั้น กล่าวแล้ว ซึ่งอภิธรรม อันมาก อันละเอียดยิ่ง นั่นเทียว แก่กระผม ท. อ. กระผม ท. โกรธแล้ว ต่อพระเถระ แม้นั่นว่า อ. ประโยชน์ อะไร ด้วยอภิธรรม นี้ มีอยู่ แก่เรา ท. ดังนี้ เป็นผู้มาแล้ว ในที่นี้ ย่อมเป็น ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ท่าน ขอจงกล่าว ซึ่งธรรมกถา แก่กระผม ท. ดังนี้ ฯ อ. พระเถระ กล่าวแล้วว่ า ถ้าอย่างนั้น อ. ท่าน ท. นั่งแล้ว จงฟัง ดังนี้ ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. พระเถระแสดงธรรมแก่พวกเขาแต่น้อย ๆ ทําให้เข้าใจง่าย ๆ พวกเขา โกรธแม้ต่อพระเถระแล้ว ก็ไปยังสํานักพระบรมศาสดา ถวายบังคมแล้ว นั่ง ณ ส่วนข้างหนึ่ง ฯ ลําดับนั้น พระบรมศาสดาตรัสกะพวกเขาว่า อุบาสกทั้งหลาย พวกท่านมาทําไมกัน ฯ พวกอุบาสก กราบทูลว่า พวกข้าพระองค์มาเพื่อต้องการฟังธรรม พระเจ้าข้า ฯ พระบรมศาสดา ตรัสว่า ก็พวกท่านฟังธรรมแล้วหรือ ฯ พวกอุบาสก กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เบื้องต้น พวกข้าพระองค์เข้าไปหาพระเรวตเถระ ท่านไม่กล่าวอะไร กับพวกข้าพระองค์เลย พวกข้าพระองค์โกรธท่านแล้ว จึงเข้าไปหาพระสารีบุตรเถระ พระเถระนั้น แสดงอภิธรรมแก่พวกข้าพระองค์มากมาย พวกข้าพระองค์กําหนดอภิธรรมนั้นไม่ได้ จึงโกรธแล้วเข้าไปหาพระอานนทเถระ พระเถระนั้น แสดงธรรมแก่พวกข้าพระองค์น้อยนัก พวกข้าพระองค์โกรธแม้ต่อท่าน แล้วมาในที่นี้ ฯ พระบรมศาสดา ทรงสดับถ้อยคําของเขาแล้ว จึงตรัสว่า อตุละ ข้อนั้น เขาเคยประพฤติกันมาแต่โบราณทีเดียว ชนทั้งหลายตําหนิทั้งคนนิ่ง ทั้งคนพูดมาก ทั้งคนพูดน้อยทีเดียว ด้วยว่า ผู้อันเขาพึงตําหนิอย่างเดียวเท่านั้น หรือว่า ผู้อันเขาพึงสรรเสริญอย่างเดียว ไม่มีเลย แม้พระราชาทั้งหลาย คนบางพวกก็นินทา บางพวกก็สรรเสริญ แผ่นดินใหญ่ก็ดี พระจันทร์และพระอาทิตย์ก็ดี อากาศเป็นต้นก็ดี คนบางพวกนินทา บางพวกสรรเสริญ แม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ประทับนั่งแสดงธรรมในท่ามกลางบริษัท ๔ คนบางพวกนินทา บางพวกสรรเสริญ ก็การนินทาหรือสรรเสริญของพวกคนอันธพาลไม่เป็นประมาณ แต่ผู้ที่ถูกบัณฑิตผู้มีปัญญาติเตียน จึงชื่อว่า เป็นอันติเตียน ผู้อันบัณฑิตสรรเสริญแล้ว ชื่อว่าเป็นอันสรรเสริญ ดังนี้แล้ว ได้ทรงภาษิตพระคาถาเหล่านี้ ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๒
แปล โดยพยัญชนะ
(เมณฺฑกเสฏฺฐี ภาค ๗ หน้า ๓๑ – ๓๒)
๑. อถสฺส (เสฏฺฐิโน) ชายา ฉาตเก อวตฺถรนฺเต มตฺติกาย ขียมานาย ภิตฺติปเทเสสุ อวสิฏฺฐมตฺติกํ ปาเตตฺวา เตเมตฺวา อฑฺฒาฬฺหกมตฺเต วีหี ลภิตฺวา โกฏฺเฏตฺวา เอกํ ตณฺฑุลนาฬึ คเหตฺวา ฉาตกกาเล พหู โจรา โหนฺตีติ โจรภเยน เอกสฺมึ กุเฏ ปกฺขิปิตฺวา ปิทหิตฺวา ภูมิยํ นิกฺขมิตฺวา เปสิ ฯ อถ นํ เสฏฺฐี ราชุปฏฺฐานโต อาคนฺตฺวา อาห ภทฺเท ฉาโตมฺหิ อตฺถิ กิญฺจีติ ฯ สา วิชฺชมานํ นตฺถีติ อวตฺวา สามิ เอกา ตณฺฑุลนาฬี อตฺถีติ อาห ฯ กหํ สาติ ฯ โจรภเยน เม นิขนิตฺวา ปิตาติ ฯ เตนหิ นํ อุทฺธริตฺวา กิญฺจิ ปจาหีติ ฯ สเจ ยาคุํ ปจิสฺสามิ เทฺว วาเร ภวิสฺสติ สเจ ภตฺตํ ปจิสฺสามิ เอกวารเมว ภวิสฺสติ กึ ปจามิ สามีติ ฯ อมฺหากํ อญฺโ ปจฺจโย นตฺถิ ภตฺตํ ภุญฺชิตฺวา ว มริสฺสาม ภตฺตเมว ปจาหีติ ฯ สา ภตฺตํ ปจิตฺวา ปญฺจ โกฏฺ าเส กตฺวา เสฏฺฐิโน ภตฺตโกฏฺฐาสํ วฑฺเฒตฺวา ปุรโต เปสิ ฯ ตสฺมึ ขเณ คนฺธมาทนปพฺพเต เอโก ปจฺเจกพุทฺโธ สมาปตฺติโต วุฏฺฐหิ ฯ อนฺโตสมาปตฺติยํ กิร สมาปตฺติผเลน ชิฆจฺฉา น พาธติ สมาปตฺติวุฏฺฐิตานํ ปน พลวตี หุตฺวา อุทรปฏลํ ฑหนฺตี วิย อุปฺปชฺชติ ตสฺมา เต ลภนฏฺฐานํ โอโลเกตฺวา คจฺฉนฺติ ฯ ตํทิวสญฺจ เตสํ ทานํ ทตฺวา เสนาปติฏฺฐานาทีสุ อญฺญตรํ สมฺปตฺตึ ลภนฺติ ตสฺมา โสปิ ทิพฺเพน จกฺขุนา โอโลเกนฺโต สกลชมฺพุทีเป ฉาตกภยํ อุปฺปนฺนํ เสฏฺฐิเคเห จ ปญฺจนฺนํ ชนานํ นาฬิโกทโน ว ปกฺโก สทฺธา นุ โข เอเต สกฺขิสฺสนฺติ วา มม สงฺคหํ กาตุนฺติ เตสํ สทฺธภาวญฺจ สงฺคหํ กาตุํ สมตฺถภาวญฺจ ทิสฺวา ปตฺตจีวรมาทาย คนฺตฺวา เสฏฺฐิสฺส ปุรโต ทฺวาเร ฐิตเมว อตฺตานํ ทสฺเสสิ ฯ โส ตํ ทิสฺวา ว ปสนฺนจิตฺโต ปุพฺเพปิ มยา ทานสฺส อทินฺนตฺตา เอวรูปํ ฉาตกํ ทิฏฺํ อิทํ โข ปน ภตฺตํ มํ เอกทิวสญฺเญว รกฺเขยฺย อยฺยสฺส ปน ทินฺนํ อเนกาสุ กปฺปโกฏีสุ มม หิตาวหํ ภวิสฺสตีติ ตํ ภตฺตปาตึ อาทาย ปจฺเจกพุทฺธสฺส ปตฺเต โอกิริ ฯ
แปล โดยอรรถ
(เมณฺฑกเสฏฺฐี ภาค ๗ หน้า ๓๒ – ๓๓)
๒. อุปฑฺฒาวเสเส ภตฺเต ปจฺเจกพุทฺโธ หตฺเถน ปตฺตํ ปิทหิ ฯ อถ นํ ภนฺเต เอกาย ตณฺฑุลนาฬิยา ปญฺจนฺนํ ชนานํ ปกฺกโอทนสฺส อยํ เอโก โกฏฺ าโส อิมํ ทฺวิธา กาตุํ น สกฺกา มา มยฺหํ อิธ โลเก สงฺคหํ กโรถ นิรวเสสํ ทาตุกาโมมฺหีติ วตฺวา สพฺพํ ภตฺตมทาสิ ทตฺวา จ ปน ปตฺถนํ เปสิ มา ภนฺเต ปุน นิพฺพตฺตฏฺฐาเน เอวรูปํ ฉาตกภยํ อทฺทสํ อิโต ปฏฺฐาย สกลชมฺพุทีปวาสีนํ วีชภตฺตํ ทาตุํ สมตฺโถ ภเวยฺยํ สหตฺเถน กมฺมํ กตฺวา ชีวิตํ น กปฺเปยฺยํ อฑฺฒเตรสโกฏฺฐสตานิ โสธาเปตฺวา สีสํ นหายิตฺวา เตสํ ทฺวาเร นิสีทิตฺวา อุทฺธํ โอโลกิตกฺขเณเยว เม รตฺตสาลิธารา ปติตฺวา สพฺพโกฏฺเฐ ปูเรยฺยุนฺติ ฯ ภริยาปิสฺส มม สามิเก ชิฆจฺฉาย ปีฬิยมาเน น สกฺกา มยา ภุญฺชิตุนฺติ จินฺเตตฺวา อตฺตโน โกฏฺฐาสํ ปจฺเจกพุทฺธสฺส ทตฺวา ปตฺถนํ เปสิ ภนฺเต อิโต ปฏฺฐาย นิพฺพตฺตฏฺฐาเน เอวรูปํ ฉาตกภยํ น ปสฺเสยฺยํ ภตฺตถาลิกํ ปุรโต กตฺวา สกลชมฺพุทีปวาสีนํ ภตฺตํ เทนฺติยาปิ จ เม ยาว น อุฏฺฐหามิ ตาว คหิตคฺคหิตฏฺฐานํ ปูริตเมว โหตูติ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. ครั้งนั้น อ. ภรรยา ของเศรษฐีนั้น ครั้นเมื่อความหิว ท่วมทับอยู่ ครั้นเมื่อดินเหนียว สิ้นไปอยู่ ยังดินเหนียวอันเหลือลงแล้ว ในส่วนแห่งฝาเรือน ท. ให้ตกแล้ว ให้เปียกแล้ว ได้แล้ว ซึ่งข้าวเปลือก ท. มีกึ่งแห่งอาฬหกเป็นประมาณ ซ้อมแล้ว ถือเอาแล้ว ซึ่งทะนานอันเต็มแล้วด้วยข้าวสาร ทะนานหนึ่ง ใส่เข้าแล้ว ในหม้อ ใบหนึ่ง ปิดแล้ว ฝังตั้งไว้แล้ว ในแผ่นดิน เพราะอันกลัวแต่โจรว่า อ. โจร ท. มาก ย่อมมี ในกาลแห่งมหาชน หิวแล้ว ดังนี้ ฯ ครั้งนั้น อ. เศรษฐี มาแล้ว แต่ที่เป็นที่บํารุงซึ่งพระราชา กล่าวแล้วว่า แน่ะนางผู้เจริญ อ. เรา เป็นผู้หิวแล้ว ย่อมเป็น อ. วัตถุ อะไร ๆ มีอยู่หรือ ดังนี้ กะภรรยานั้น ฯ อ. ภรรยานั้น ไม่กล่าวถึงแล้ว ซึ่งวัตถุ อันมีอยู่ว่า อ. วัตถุ ย่อมไม่มี ดังนี้ กล่าวแล้วว่า ข้าแต่นาย อ. ทะนานอันเต็มแล้วด้วยข้าวสาร ทะนานหนึ่ง มีอยู่ ดังนี้ ฯ อ. เศรษฐี ถามแล้วว่า อ. ทะนานอันเต็มแล้วด้วยข้าวสาร นั้น มีอยู่ ในที่ไหน ดังนี้ ฯ อ. ภรรยา กล่าวแล้วว่า อ. ทะนานอันเต็มแล้วด้วยข้าวสาร อันดิฉัน ฝังตั้งไว้แล้ว เพราะอันกลัวแต่โจร ดังนี้ ฯ อ. เศรษฐี กล่าวแล้วว่า ถ้าอย่างนั้น อ. เธอ ขุดขึ้นแล้ว ซึ่งทะนานอันเต็มแล้วด้วยข้าวสาร นั้น จงหุงต้ม ซึ่งโภชนะอะไร ๆ ดังนี้ ฯ อ. ภรรยา กล่าวแล้วว่า ถ้าว่า อ. ดิฉัน จักต้ม ซึ่งข้าวต้มไซร้ อ. ข้าวต้ม นั้น จักมี สิ้นวาระ ท. ๒ ถ้าว่า อ. ดิฉัน จักหุง ซึ่งข้าวสวยไซร้ อ. ข้าวสวยนั้น จักมี สิ้นวาระหนึ่งนั่นเทียว ข้าแต่นาย อ. ดิฉัน จะหุงต้ม ซึ่งอะไร ดังนี้ ฯ อ. เศรษฐี กล่าวแล้วว่า อ. ปัจจัย อย่างอื่น ของเรา ท. ย่อมไม่มี อ. เรา ท. กินแล้ว ซึ่งข้าวสวยเทียว จักตาย อ. เธอ จงหุง ซึ่งข้าวสวยนั่นเทียว ดังนี้ ฯ อ. ภรรยา นั้น หุงแล้ว ซึ่งข้าวสวย ทําแล้ว ให้เป็นส่วน ๕ ยังส่วนแห่งข้าวสวย ของเศรษฐี ให้เจริญแล้ว วางไว้แล้วข้างหน้า ฯ ในขณะนั้น อ. พระปัจเจกพุทธเจ้า องค์หนึ่ง ที่ภูเขาชื่อว่าคันธมาทน์ ออกแล้ว จากสมาบัติ ฯ ได้ยินว่า อ. ความหิว ย่อมไม่เบียดเบียน ในภายในแห่งสมาบัติ เพราะผลแห่งสมาบัติ ฯ แต่ว่า อ. ความหิว เป็นธรรมชาติมีกําลัง เป็น ราวกะว่าเผาอยู่ ซึ่งพื้นแห่งท้อง ย่อมเกิดขึ้น แก่พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. ผู้ออกแล้วจากสมาบัติ เพราะเหตุนั้น อ. พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. เหล่านั้น ตรวจดูแล้ว ซึ่งที่เป็นที่ได้ ย่อมไป ฯ ก็ อ. ชน ท. ถวายแล้ว ซึ่งทาน แก่พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. เหล่านั้น ย่อมได้ ซึ่ง ในสมบัติ ท. มีตําแหน่งแห่งเสนาบดีเป็นต้นหนา สมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ในวันนั้น เพราะเหตุนั้น อ. พระปัจเจกพุทธเจ้าแม้นั้น ตรวจดูอยู่ ด้วยจักษุ อันเป็นทิพย์ คิดแล้วว่า อ. ภัยคือความหิว เกิดขึ้นแล้ว ในชมพูทวีปทั้งสิ้น ก็ อ. ข้าวสุกแห่งข้าวสารมีทะนานเป็นประมาณเทียว อันบุคคลหุงแล้ว เพื่อชน ท. ๕ ในเรือนของเศรษฐี อ. ชน ท. เหล่านั้น เป็นผู้มีศรัทธา จักเป็น หรือหนอแล หรือว่า จักอาจ เพื่ออันทํา ซึ่งการสงเคราะห์ แก่เรา ดังนี้ เห็นแล้ว ซึ่งความที่แห่งชน ท. เหล่านั้น เป็นผู้มีศรัทธาด้วย ซึ่งความที่แห่งชน ท. เหล่านั้น เป็นผู้สามารถ เพื่ออันทําซึ่งการสงเคราะห์ด้วย ถือเอาแล้ว ซึ่งบาตรและจีวร ไปแล้ว แสดงแล้ว ซึ่งตน ผู้ยืนแล้ว ณ ประตู ข้างหน้า ของเศรษฐีนั่นเทียว ฯ อ. เศรษฐีนั้น เห็นแล้ว ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้านั้นเทียว เป็นผู้มีจิตอันเลื่อมใสแล้ว เป็น คิดแล้วว่า อ. ความหิว มีอย่างนี้เป็นรูป อันเรา เห็นแล้ว เพราะความที่แห่งทานเป็นทานอันเราไม่ถวายแล้ว แม้ในกาลก่อน ก็ อ. ข้าวสวย นี้ แล พึงรักษา ซึ่งเรา สิ้นวันหนึ่งนั่นเทียว ส่วนว่า อ. ทาน อันอันเรา ถวายแล้ว แก่พระผู้เป็นเจ้า เป็นทานนํามาซึ่งประโยชน์เกื้อกูล แก่เรา ในโกฏิแห่งกัปป์ ท. มิใช่หนึ่ง จักเป็น ดังนี้ ถือเอาแล้ว ซึ่งถาดแห่งข้าวสวย นั้น เกลี่ยลงแล้ว ในบาตร ของพระปัจเจกพุทธเจ้า ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. เมื่อภัตรเหลือกึ่งหนึ่ง พระปัจเจกพุทธเจ้า ใช้มือปิดบาตรเสีย ฯ ทีนั้น เศรษฐีกราบเรียนท่านว่า ท่านขอรับ นี้เป็นส่วนหนึ่งแห่งข้าวสุกที่เขาหุงไว้เพื่อคน ๕ คน ด้วยข้าวสารทะนานหนึ่ง กระผมไม่อาจแบ่งภัตรนี้ให้เป็น ๒ ส่วนได้ ขอพระคุณเจ้าจงอย่าทําการสงเคราะห์กระผมในโลกนี้เลย กระผมต้องการจะถวายไม่ให้เหลือแล้วได้ถวายภัตรทั้งหมด ฯ ก็แล ครั้นถวายแล้ว ได้ตั้งความปรารถนาว่า ท่านเจ้าข้า กระผม อย่าได้ประสบฉาตกภัยเห็นปานนี้ ในที่ที่กระผมบังเกิดอีกเลยตั้งแต่บัดนี้ไป กระผมพึงสามารถเพื่อจะให้พันธุ์พืชและภัตรแก่ชาวชมพูทวีปทั้งสิ้น ไม่พึงทํางานเลี้ยงชีพด้วยมือของตนเอง ในขณะที่กระผมให้คนทําความสะอาดฉาง ๑,๒๕๐ ฉางแล้ว สนานศีรษะนั่งอยู่ที่ประตูฉางเหล่านั้นแล้ว แหงนดูเท่านั้น ธารแห่งข้าวสาลีแดง พึงตกลงมายังฉางทั้งหมดให้เต็มเพื่อกระผม ฯ แม้ภรรยาเศรษฐีนั้น ก็คิดว่า เมื่อสามีเราถูกความหิวเบียดเบียนอยู่ เราก็ไม่อาจเพื่อจะบริโภคได้ จึงถวายส่วนของตนเองแก่พระปัจเจกพุทธเจ้าแล้วตั้งความปรารถนาว่า ท่านเจ้าขา จําเดิมแต่นี้ไป ดิฉันไม่พึงประสบฉาตกภัยเห็นปานนี้ ในสถานที่ที่ดิฉันบังเกิดแล้ว อนึ่ง แม้เมื่อดิฉันวางถาดภัตรไว้ข้างหน้า ให้ภัตรแก่ชาวชมพูทวีปทั้งสิ้น ดิฉันยังไม่ลุกขึ้นตราบใด ที่แห่งภัตรที่ดิฉันตักแล้ว ๆ จงเต็มอย่างเดิมตราบนั้น ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๒ (ครั้งที่ ๒)
แปล โดยพยัญชนะ
(สมฺพหุลภิกฺขุ ภาค ๗ หน้า ๑๕๕ – ๑๕๖)
๑. วตฺถุ ยมกวคฺเค ปเร จ น วิชานนฺตีติ คาถาวณฺณนาย อาคตเมว ฯ วุตฺตํ เหตํ ตถาคตสฺส ตตฺถ หตฺถินาเคน อุปฏฺิ ยมานสฺส วสนภาโว สกลชมฺพุทีเป ปากโฏ อโหสิ ฯ สาวตฺถีนครโต อนาถปิณฺฑิโก วิสาขา มหาอุปาสิกาติเอวมาทีนิ มหากุลานิ อานนฺทตฺเถรสฺส สาสนํ ปหิณึสุ สตฺถารํ โน ภนฺเต ทสฺเสถาติ ฯ ทิสาวาสิโนปิ ปญฺจสตา ภิกฺขู วุตฺถวสฺสา อานนฺทตฺเถรํ อุปสงฺกมิตฺวา จิรสฺสํ สุตา โน อาวุโส อานนฺท ภควโต สมฺมุขา ธมฺมกถา สาธุ มยํ อาวุโส อานนฺท ลเภยฺยาม ภควโต สมฺมุขา ธมฺมกถํ สวนายาติ ยาจึสุ ฯ เถโร เต ภิกฺขู อาทาย ตตฺถ คนฺตฺวา เตมาสํ เอกวิหาริโน ตถาคตสฺส สนฺติกํ เอตฺตเกหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ อุปสงฺกมนํ อยุตฺตนฺติ จินฺเตตฺวา เอกโก ว สตฺถารํ อุปสงฺกมิ ฯ ปาริเลยฺยโก ตํ ทิสฺวา ทณฺฑมาทาย ปกฺขนฺทิ ฯ สตฺถา โอโลเกตฺวา อเปหิ ปาริเลยฺยก มา นิวารยิ พุทฺธุปฏฺฐาโก เอโสติ อาห ฯ โส ตตฺเถว ทณฺฑํ ฉฑฺเฑตฺวา ปตฺตจีวรปฏิคฺคหณํ อาปุจฺฉิ ฯ เถโร นาทาสิ ฯ นาโค สเจ อุคฺคหิตวตฺโต ภวิสฺสติ สตฺถุ นิสีทนปาสาณผลเก อตฺตโน ปริกฺขารํ น เปสฺสตีติ จินฺเตสิ ฯ เถโร ปตฺตจีวรํ ภูมิยํ เปสิ ฯ วตฺตสมฺปนฺนา หิ ครูนํ อาสเน วา สยเน วา อตฺตโน ปริกฺขารํ น เปนฺติ ฯ เถโร สตฺถารํ วนฺทิตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ ฯ
แปล โดยอรรถ
(สมฺพหุลภิกฺขุ ภาค ๗ หน้า ๑๕๖ – ๑๕๗)
๒. สตฺถา เอกโก ว อาคโตสีติ ปุจฺฉิตฺวา ปญฺจสเตหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ อาคตภาวํ สุตฺวา กหํ ปเนเตติ วตฺวา ตุมฺหากํ จิตฺตํ อชานนฺโต พหิ เปตฺวา อาคโตมฺหีติ วุตฺเต ปกฺโกสาหิ เนติ อาห ฯ เถโร ตถา อกาสิ ฯ สตฺถา เตหิ สทฺธึ ปฏิสนฺถารํ กตฺวา เตหิ ภิกฺขูหิ ภนฺเต ภควา พุทฺธสุขุมาโล เจว ขตฺติยสุขุมาโล จ ตุมฺเหหิ เตมาสํ เอกเกหิ ติฏฺฐนฺเตหิ นิสีทนฺเตหิ จ ทุกฺกรํ กตํ วตฺตปฏิวตฺตการโกปิ มุโขทกาทิทายโกปิ นาโหสิ มญฺเญติ วุตฺเต ภิกฺขเว ปาริเลยฺยกหตฺถินา มยฺหํ สพฺพกิจฺจานิ กตานิ เอวรูปํ หิ สหายํ ลภนฺเตน เอกโต วสิตุํ ยุตฺตํ อลภนฺตสฺส เอกจริยภาโว ว เสยฺโยติ วตฺวา นาควคฺเค อิมา คาถา อภาสิ
สเจ ลเภถ นิปกํ สหายํ
สทฺธึจรํ สาธุวิหาริธีรํ
อภิภุยฺย สพฺพานิ ปริสฺสยานิ
จเรยฺย เตนตฺตมโน สตีมา ฯ
โน เจ ลเภถ นิปกํ สหายํ
สทฺธึจรํ สาธุวิหาริธีรํ
ราชา ว รฏฺฐํ วิชิตํ ปหาย
เอโก จเร มาตงฺครญฺเญว นาโค ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. อ. เรื่อง มาแล้ว ในกถาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งพระคาถาว่า ปเร จ น วิชานนฺติ ดังนี้เป็นต้น ในยมกวรรคนั่นเทียว ฯ จริงอยู่ อ. คํา นั่นว่า อ. ความเป็นคืออันประทับอยู่ แห่งพระตถาคต ผู้อันช้างตัวประเสริฐ บํารุงอยู่ ในป่าชื่อว่าปาริไลยกะนั้น เป็นสภาพปรากฏแล้ว ในชมพูทวีปทั้งสิ้น ได้เป็นแล้ว ฯ อ. ตระกูลใหญ่ ท. อันมีอย่างนี้ คือ อ. เศรษฐีชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ อ. นางวิสาขา ผู้มหาอุบาสิกา เป็นต้น ส่งไปแล้ว ซึ่งข่าวสาส์น แก่พระเถระชื่อว่าอานนท์ จากพระนครชื่อว่าสาวัตถี มีอันให้รู้ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ท่าน ขอจงแสดง ซึ่งพระศาสดา แก่เรา ท. ดังนี้เป็นเหตุ ฯ อ. ภิกษุ ท. มีร้อยห้าเป็นประมาณ แม้ผู้อยู่ในทิศโดยปกติ ผู้มีกาลฝนอันอยู่แล้ว เข้าไปหาแล้ว ซึ่งพระเถระชื่ อว่าอานนท์ อ้อนวอนแล้วว่า ข้าแต่ท่านอานนท์ ผู้มีอายุ อ. วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งธรรม ในที่พร้อมพระพักตร์ ของพระผู้มีพระภาคเจ้า อันเรา ท. ฟังแล้ว สิ้นกาลนาน ข้าแต่ท่านอานนท์ ผู้มีอายุ ดังเรา ท. ขอโอกาส อ. เรา ท. พึงได้ เพื่ออันฟัง ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งธรรม ในที่พร้อมพระพักตร์ ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ดังนี้ ฯ อ. พระเถระ พาแล้ว ซึ่งภิกษุ ท. เหล่านั้น ไปแล้ว ในที่นั้น คิดแล้วว่า อ. อันเข้าไป สู่สํานัก ของพระตถาคต ผู้ประทับอยู่พระองค์เดียวโดยปกติ ตลอดหมวดแห่งเดือนสาม กับ ด้วยภิกษุ ท. ผู้มีประมาณเท่านี้ ไม่ควรแล้ว ดังนี้ ผู้ผู้เดียวเทียว เข้าไปเฝ้าแล้ว ซึ่งพระศาสดา ฯ อ. ช้างชื่อว่าปาริไลยกะ เห็นแล้ว ซึ่งพระเถระนั้น ถือเอาแล้ว ซึ่งท่อนไม้ แล่นไปแล้ว ฯ อ. พระศาสดา ทรงทอดพระเนตรแล้ว ตรัสแล้วว่า ดูก่อนปาริไลยกะ อ. เจ้า จงหลีกไป อ. เจ้า อย่าห้ามแล้ว อ. ภิกษุนั่น เป็นผู้บํารุงซึ่งพระพุทธเจ้า ย่อมเป็น ดังนี้ ฯ อ. ช้างชื่อว่าปาริไลยกะนั้น ทิ้งแล้ว ท่อนไม้ ในที่นั้น นั่นเทียว ถามโดยเอื้อเฟื้อแล้ว ซึ่งการรับเฉพาะซึ่งบาตรและจีวร ฯ อ. พระเถระ ไม่ได้ให้แล้ว ฯ อ. ช้างตัวประเสริฐ คิดแล้วว่า ถ้าว่า อ. ภิกษุนี้ เป็นผู้มีวัตรอันเรียนแล้ว จักเป็นไซร้ อ. ภิกษุนี้ จักไม่วาง ซึ่งบริขาร ของตน บนแผ่นแห่งหินเป็นที่ประทับนั่ง ของพระศาสดา ดังนี้ ฯ อ. พระเถระ วางแล้ว ซึ่งบาตรและจีวร บนภาคพื้น ฯ จริงอยู่ อ. ชน ท. ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวัตร ย่อมไม่วาง ซึ่งบริขาร ของตน บนที่เป็นที่นั่งหรือ หรือว่า บนที่เป็นที่นอน ของครู ท. ฯ อ. พระเถระ ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระศาสดา นั่งแล้ว ณ ที่สุดส่วนข้างหนึ่ง ดังนี้ อันพระคันถรจนาจารย์ กล่าวแล้ว ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. พระบรมศาสดาตรัสถามว่า เธอมารูปเดียวเท่านั้นหรือ ทรงสดับความว่าพระเถระมากับภิกษุ ๕๐๐ รูป ตรัสว่า ก็ภิกษุเหล่านั้นอยู่ที่ไหน เมื่อพระเถระกราบทูลว่า ข้าพระองค์ ไม่ทราบพระทัยของพระองค์ จึงพักไว้ข้างนอก แล้วมาเฝ้า จึงตรัสว่า จงเรียกภิกษุเหล่านั้นเข้ามาเถิด ฯ พระเถระได้ทําอย่างนั้น ฯ พระบรมศาสดาทรงทําปฏิสันถารกับภิกษุเหล่านั้นแล้ว เมื่อภิกษุเหล่านั้นกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเป็นพระพุทธเจ้าสุขุมาลชาติ และทรงเป็นกษัตริย์สุขุมาลชาติ พระองค์ผู้เดียวประทับยืนและประทับนั่งอยู่ตลอดไตรมาส ทรงทําสิ่งที่ทําได้ยากแล้ว ผู้ทําวัตรปฏิบัติก็ดี ผู้ถวายน้ำบ้วนพระโอษฐ์เป็นต้นก็ดี เห็นจะมิได้มี จึงตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย กิจทุกอย่าง ช้างปาลิไลยกะทําแก่เราแล้ว อันที่จริง การที่บุคคล เมื่อได้สหายเห็นปานนี้อยู่ร่วมกัน ควรแล้ว เมื่อไม่ได้ การเที่ยวไปคนเดียวนั่นแหละ ประเสริฐกว่า แล้วได้ทรงภาษิตพระคาถาเหล่านี้ ในนาควรรคว่า
ถ้าว่า บุคคลพึงได้สหาย ผู้มีปัญญาเครื่องรักษาตัว มีธรรมเครื่องอยู่
ดีงาม เป็นนักปราชญ์ ไว้เป็นผู้เที่ยวไปด้วยกันไซร้ เขาพึงครอบงํา
อันตรายทั้งสิ้นเสียแล้ว พึงเป็นผู้มีใจยินดี มีสติ เที่ยวไปกับสหายนั้น ฯ
หากว่าบุคคลไม่พึงได้สหาย ผู้มีปัญญาเครื่องรักษาตัว มีธรรมเครื่อง
อยู่ดีงาม เป็นนักปราชญ์ ไว้เป็นผู้เที่ยวไปด้วยกันไซร้ เขาพึงเที่ยวไป
คนเดียว เหมือนพระราชาทรงละแว่นแคว้น ที่ทรงชนะเด็ดขาดแล้ว
(เสด็จไปพระองค์เดียว) (หรือ) เหมือนพญาช้างมาตังคะละโขลงแล้ว
เที่ยวไปในป่าตัวเดียว ฉะนั้น ดังนี้ ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๑
แปล โดยพยัญชนะ
(สงฺฆเภทปริสกฺกน ภาค ๖ หน้า ๒๐ – ๒๑)
๑. เอกทิวสํ หิ เทวทตฺโต สงฺฆเภทาย ปริสกฺกนฺโต อายสฺมนฺตํ อานนฺทํ ปิณฺฑาย จรนฺตํ ทิสฺวา อตฺตโน อธิปฺปายํ อาโรเจสิ ฯ ตํ สุตฺวา เถโร สตฺถุ สนฺติกํ คนฺตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจ อิธาหํ ภนฺเต ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาทาย ราชคหํ ปิณฺฑาย ปาวิสึ อทฺทสา โข มํ ภนฺเต เทวทตฺโต ราชคเห ปิณฺฑาย จรนฺตํ ทิสฺวาน เยนาหํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา มํ เอตทโวจ อชฺชตคฺเคทานาหํ อาวุโส อานนฺท อญฺญตฺเรว ภควตา อญฺญตฺร ภิกฺขุสงฺเฆน อุโปสถํ กริสฺสามิ สงฺฆกมฺมานิ จาติ อชฺช ภควา เทวทตฺโต สงฺฆํ ภินฺทิสฺสติ อุโปสถญฺจ กริสฺสติ สงฺฆกมฺมานิ จาติ ฯ เอวํ วุตฺเต สตฺถา
สุกรํ สาธุนา สาธุ สาธุ ปาเปน ทุกฺกรํ
ปาปํ ปาเปน สุกรํ ปาปมริเยหิ ทุกฺกรนฺติ
อิมํ อุทานํ อุทาเนตฺวา อานนฺท อตฺตโน อหิตกมฺมํ นาม สุกรํ หิตกมฺมเมว ทุกฺกรนฺติ วตฺวา อิมํ คาถมาห
สุกรานิ อสาธูนิ อตฺตโน อหิตานิ จ
ยํ เว หิตญฺจ สาธุญฺจ ตํ เว ปรมทุกฺกรนฺติ ฯ
ตสฺสตฺโถ ยานิ กมฺมานิ อสาธูนิ สาวชฺชานิ จ อปายสํวตฺตนิกานิ กตตฺตาเยว อตฺตโน อหิตานิ จ โหนฺติ ตานิ สุกรานิ ยํ ปน กตตฺตา อตฺตโน หิตญฺจ อนวชฺชตฺเถน สาธุญฺจ สุคติสํวตฺตนิกญฺเจว นิพฺพานสํวตฺตนิกญฺจ กมฺมํ ตํ ปาจีนนินฺนาย คงฺคาย อุพฺพตฺเตตฺวา ปจฺฉามุขกรณํ วิย อติทุกฺกรนฺติ ฯ
แปล โดยอรรถ
(กาลตฺเถร ภาค ๖ หน้า ๒๒ – ๒๓)
๒. โส (กาลตฺเถโร) ตํ สุตฺวา ว กุจฺฉิยํ อุฏฺฐิเตน ฑาเหน สนฺตปฺปมาโน อิทานิ สา มยิ ภินฺนาติ เวเคน คนฺตฺวา สตฺถุ สนฺติเก ธมฺมํ สุณมานํ ทิสฺวา สตฺถารํ อาห ภนฺเต อยํ อิตฺถี ทนฺธา สุขุมํ ธมฺมกถํ น ชานาติ อิมิสฺสา ขนฺธาทิปฺปฏิสํยุตฺตํ สุขุมํ ธมฺมกถํ อกเถตฺวา ทานกถํ วา สีลกถํ วา กเถตุํ วฏฺฏตีติ ฯ สตฺถา ตสฺส อชฺฌาสยํ วิทิตฺวา ตฺวํ ทุปฺปญฺโ ปาปิกํ ทิฏฺฐึ นิสฺสาย พุทฺธานํ สาสนํ ปฏิกฺโกสสิ อตฺตฆาตาเยว วายมสีติ วตฺวา อิมํ คาถมาห
โย สาสนํ อรหตํ อริยานํ ธมฺมชีวินํ
ปฏิกฺโกสติ ทุมฺเมโธ ทิฏฺฐึ นิสฺสาย ปาปิกํ
ผลานิ กณฺฏกสฺเสว อตฺตฆญฺญฺาย ผลฺลตีติ ฯ
ตสฺสตฺโถ โย ทุมฺเมโธ ปุคฺคโล อตฺตโน สกฺการหานิภเยน ปาปิกํ ทิฏฺึ นิสฺสาย ธมฺมํ วา โสสฺสาม ทานํ วา ทสฺสามาติ วทนฺเต ปฏิกฺโกสนฺโต อรหตํ อริยานํ ธมฺมชีวินํ พุทฺธานํ สาสนํ ปฏิกฺโกสติ ฯ ตสฺส ตํ ปฏิกฺโกสนํ สา จ ปาปิกา ทิฏฺฐิ เวฬุสงฺขาตสฺส กณฺฏกสฺส ผลานิ วิย โหติ ตสฺมา ยถา กณฺฏโก ผลานิ คณฺหนฺโต อตฺตฆญฺญาย ผลฺลติ อตฺตโน ฆาตตฺถเมว ผลฺลติ เอวํ โสปิ อตฺตโน ฆาตาย ผลฺลตีติ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. ดังจะกล่าวโดยพิสดาร ในวันหนึ่ง อ. พระเทวทัต ตะเกียกตะกายอยู่ เพื่ออันทําลายซึ่งสงฆ์ เห็นแล้ว ซึ่งพระอานนท์ ผู้มีอายุ ผู้เที่ยวไปอยู่ เพื่อก้อนข้าว บอกแล้ว ซึ่งความประสงค์ ของตน ฯ อ. พระเถระ ฟังแล้ว ซึ่งคํานั้น ไปแล้ว สู่สํานัก ของพระศาสดา ได้กราบทูลแล้ว ซึ่งคํานั่นว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. ข้าพระองค์ นุ่งแล้ว ในสมัยอันเป็นเบื้องต้นแห่งวัน ในพระวิหารชื่อว่าเวฬุวันนี้ ถือเอาแล้ว ซึ่งบาตรและจีวร ได้เข้าไปแล้ว สู่พระนครชื่อว่าราชคฤห์ เพื่อก้อนข้าว, ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. พระเทวทัต ได้เห็นแล้วแล ซึ่งข้าพระองค์ ผู้เที่ยวไปอยู่ เพื่อก้อนข้าว ในพระนครชื่อว่าราชคฤห์, อ. พระเทวทัตนั้น ครั้นเห็นแล้ว เข้าไปหาแล้ว โดย อ. ข้าพระองค์ ย่อมอยู่ โดยส่วนแห่งทิศใด ส่วนแห่งทิศนั้น, อ. พระเทวทัตนั้น ครั้นเข้าไปหาแล้ว ได้กล่าวแล้ว ซึ่งคํานั่นว่า ดูก่อนอานนท์ ผู้มีอายุ อ. เรา จักกระทํา ซึ่งอุโบสถด้วย ซึ่งสังฆกรรม ท. ด้วย เว้น จากพระผู้มีพระภาคเจ้านั่นเทียว เว้น จากหมู่แห่งภิกษุ ในกาลอันมีวันนี้ เป็นเบื้องต้น ในกาลนี้ ดังนี้ กะข้าพระองค์, ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ในวันนี้ อ. พระเทวทัต จักทําลาย ซึ่งสงฆ์, อ. พระเทวทัต จักกระทํา ซึ่งอุโบสถด้วย ซึ่งสังฆกรรม ท. ด้วย เว้น จากพระผู้มีพระภาคเจ้า เว้น จากหมู่แห่งภิกษุ ดังนี้ กะพระผู้มีพระภาคเจ้า ฯ ครั้นเมื่อคําอย่างนี้ อันพระเถระ กราบทูลแล้ว, อ. พระศาสดา ทรงเปล่งแล้ว ซึ่งพระอุทาน นี้ว่า
อ. กรรมดี เป็นกรรมอันคนดีกระทําได้โดยง่าย ย่อมเป็น, อ. กรรมดี
เป็นกรรมอันคนชั่วกระทําได้โดยยาก ย่อมเป็น, อ. กรรมชั่ว เป็นกรรม
อันคนชั่วกระทําได้โดยง่าย ย่อมเป็น อ. กรรมชั่ว เป็นกรรมอันชน ท.
ผู้เป็นอริยะ กระทําได้โดยยาก ย่อมเป็น ดังนี้ ฯ
ตรัสแล้วว่า ดูก่อนอานนท์ ชื่อ อ. กรรมอันไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล แก่ตน เป็นกรรมอันบุคคลกระทําได้โดยง่าย ย่อมเป็น, อ. กรรมอันเป็นประโยชน์เกื้อกูล แก่ตน นั่นเทียว เป็นกรรมอันบุคคลกระทําได้โดยยาก ย่อมเป็น ดังนี้ ตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถา นี้ว่า
อ. กรรม ท. เหล่าใด เป็นกรรมไม่ดีด้วย เป็นกรรมไม่เป็นประโยชน์
เกื้อกูล แก่ตนด้วย (ย่อมเป็น), อ. กรรม ท. เหล่านั้น เป็นกรรมอัน
บุคคลกระทําได้โดยง่าย ย่อมเป็น, อ. กรรมใด แล เป็นประโยชน์
เกื้อกูลด้วย เป็นกรรมดีด้วย ย่อมเป็น, อ. กรรม นั้นแล เป็นกรรมอัน
บุคคลกระทําได้โดยยากอย่างยิ่ง ย่อมเป็น ดังนี้ ฯ
อ. เนื้อความว่า อ. กรรม ท. เหล่าใด เป็นกรรมไม่ดี คือว่า เป็นกรรมเป็นไปกับด้วยโทษ คือว่า เป็นกรรมประกอบแล้วในอันยังสัตว์ให้เป็นไปพร้อมในอบายด้วย ชื่อว่า เป็นกรรมไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล แก่ตน เพราะความที่แห่งกรรม ท. เหล่านั้น เป็นกรรมอันตนกระทําแล้วนั่นเทียวด้วย ย่อมเป็น, อ. กรรม ท. เหล่านั้น เป็นกรรมอันบุคคลกระทําได้โดยง่าย ย่อมเป็น๑ ฯ ส่วนว่า อ. กรรม ใด ชื่อว่า เป็นประโยชน์เกื้อกูล แก่ตน เพราะความที่แห่งกรรมนั้น เป็นกรรมอันตนกระทําแล้วด้วย ชื่อว่า เป็นกรรมดี เพราะอรรถว่าเป็นกรรมมีโทษหามิได้ด้วย คือว่า เป็นกรรมประกอบแล้วในอันยังสัตว์ให้เป็นไปพร้อมเพื่อสุคติด้วยนั่นเทียว เป็นกรรมประกอบแล้วในอันยังสัตว์ให้เป็นไปพร้อมเพื่อพระนิพพานด้วย ย่อมเป็น, อ. กรรม นั้น เป็นกรรมอันบุคคลกระทําได้โดยยากอย่างยิ่ง ย่อมเป็น ราวกะ อ. อันทดขึ้นแล้วจึงกระทํา ซึ่งแม่น้ำชื่อว่าคงคา อันไหลไปแล้วใน ทิศปราจีน ให้เป็นแม่น้ำมีหน้าในภายหลัง ดังนี้ แห่งคําอันเป็นพระคาถานั้น อันบัณฑิต พึงทราบ ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. พระกาลเถระนั้นพอฟังข่าวนั้นแล้ว ทุรนทุรายอยู่เพราะความกลัดกลุ้มอันตั้งขึ้นในท้อง คิดว่า บัดนี้ อุบาสิกานั้นแตกจากเราแล้ว รีบไปแล้ว เห็นนางกําลังฟังธรรมอยู่ในสํานักพระบรมศาสดา จึงกราบทูลพระบรมศาสดาว่า หญิงคนนี้โง่เขลา พระเจ้าข้า ย่อมไม่รู้ธรรมกถาอันละเอียด พระองค์อย่าตรัสธรรมกถาอันละเอียดซึ่งประกอบด้วยสภาวธรรมมีขันธ์เป็นต้น ตรัสทานกกาหรือสีลกถาแก่นาง ก็ควร ฯ พระบรมศาสดา ทรงทราบอัธยาศัยของพระกาลเถระนั้นแล้ว ตรัสว่า เธอมีปัญญาทราม อาศัยทิฏฐิอันชั่วช้า ย่อมคัดค้านคําสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย เธอพยายามเพื่อฆ่าตนเองถ่ายเดียว ดังนี้แล้ว จึงตรัสพระคาถานี้ว่า
บุคคลใดมีปัญญาทราม อาศัยทิฏฐิอันชั่วช้า คัดค้านคําสอนของพระ
อริยเจ้าทั้งหลาย ผู้เป็นพระอรหันต์ มีปกติเป็นอยู่โดยธรรม บุคคลนั้น
ย่อมเกิดมาเพื่อฆ่าตนเอง ประดุจขุยไผ่เกิดมาเพื่อฆ่าต้นไผ่ ฉะนั้น ฯ
เนื้อความพระคาถานั้นว่า บุคคลใดมีปัญญาทราม อาศัยทิฏฐิอันชั่วช้า คัดค้านพวกคนผู้กล่าวอยู่ว่า พวกเราจักฟังธรรม หรือว่า จักถวายทาน เพราะกลัวสักการะของตนจะเสื่อมไป ชื่อว่าคัดค้านคําสอนของพระอริยเจ้าทั้งหลาย ผู้เป็นพระอรหันต์ มีปกติเป็นอยู่โดยธรรม คือ พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ฯ การคัดค้านนั้นและทิฏฐิอันชั่วช้านั้นของบุคคลนั้น ย่อมเป็นเหมือนขุยของไม่มีหนาม กล่าวคือไม้ไผ่ เพราะฉะนั้น แม้บุคคลนั้นก็ชื่อว่าเกิดมาเพื่อฆ่าตนเอง เปรียบเหมือนไม้ไผ่เมื่อตกขุย ชื่อว่าเกิดมาเพื่อฆ่าตนเอง คือ เกิดมาเพื่อผลาญตนเองเท่านั้น ฉะนั้น ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๑ (ครั้งที่ ๒)
แปล โดยพยัญชนะ
(อตุลอุปาสก ภาค ๖ หน้า ๑๘๕ – ๑๘๖)
๑. อถ เน สตฺถา อาห กสฺมา อุปาสกา อาคตตฺถาติ ฯ ธมฺมสฺสวนตฺถาย ภนฺเตติ ฯ สุโต ปน โว ธมฺโมติ ฯ ภนฺเต มยํ อาทิโต เรวตตฺเถรํ อุปสงฺกมิมฺหา โส อมฺเหหิ สทฺธึ น กิญฺจิ กเถสิ ตสฺส กุชฺฌิตฺวา สารีปุตฺตตฺเถรํ อุปสงฺกมิตฺวา เตน โน พหุ อภิธมฺโม กถิโต ตํ อสลฺลกฺเขตฺวา กุชฺฌิตฺวา อานนฺทตฺเถรํ อุปสงฺกมิมฺหา เตน โน อปฺปมตฺตโก ว ธมฺโม กถิโต ตสฺสาปิ กุชฺฌิตฺวา อิธาคตมฺหาติ ฯ สตฺถา ตสฺส กถํ สุตฺวา อตุล โปราณโต ปฏฺฐาย อาจิณฺณเมเวตํ ตุณฺหีภูตมฺปิ พหุกถํปิ มนฺทกถํปิ ครหนฺติเยว เอกนฺตํ ครหิตพฺโพเยว หิ ปสํสิตพฺโพเยว วา นตฺถิ ราชาโนปิ เอกจฺเจ นินฺทนฺติ เอกจฺเจ ปสํสนฺติ มหาปฐวิมฺปิ จนฺทิมสุริเยปิ อากาสาทโยปิ จตุปฺปริสมชฺเฌ นิสีทิตฺวา ธมฺมํ กเถนฺตํ สมฺมาสมฺพุทฺธํปิ เอกจฺเจ นินฺทนฺติ เอกจฺเจ ปสํสนฺติ อนฺธพาลานํ หิ นินฺทา วา ปสํสา วา อปฺปมาณํ ปณฺฑิเตน ปน เมธาวินา นินฺทิโต นินฺทิโต นาม ปสํสิโต ปสํสิโต นาม โหตีติ วตฺวา อิมา คาถา อภาสิ ฯ
แปล โดยอรรถ
(ภิกฺขูหิ ปุฏฺฐปญฺห ภาค ๖ หน้า ๑๗๗ – ๑๗๘)
๒. ภควโต กิร ภิกฺขุสงฺฆปริวุตสฺส สาเกตํ ปิณฺฑาย ปวิสนกาเล เอโก สาเกตวาสี มหลฺลกพฺราหฺมโณ นครโต นิกฺขมนฺโต อนฺตรทฺวาเร ทสพลํ ทิสฺวา ปาเทสุ นิปติตฺวา โคปฺผเกสุ ทฬฺหํ คเหตฺวา ตาต นนุ นาม ปุตฺเตหิ ชิณฺณกาเล มาตาปิตโร ปฏิชคฺคิตพฺพา กสฺมา เอตฺตกํ กาลํ อมฺหากํ อตฺตานํ น ทสฺเสสิ มยา ตาว ทิฏฺโ สิ มาตรํปิ ปสฺสิตุํ เอหีติ สตฺถารํ คเหตฺวา อตฺตโน เคหํ อคมาสิ ฯ สตฺถา ตตฺถ คนฺตฺวา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน ฯ พฺราหฺมณีปิ อาคนฺตฺวา สตฺถุ ปาเทสุ นิปติตฺวา ตาต เอตฺตกํ กาลํ กหํ คโตสิ นนุ นาม มาตาปิตโร มหลฺลกกาเล อุปฏฺ าตพฺพาติ วตฺวา ปุตฺตธีตโร เอถ ภาตรํ วนฺทถาติ วนฺทาเปสิ ฯ เต อุโภปิ ตุฏฺฐมานสา พุทฺธปฺปมุขํ ภิกฺขุสงฺฆํ ปริวิสิตฺวา ภนฺเต อิเธว นิพทฺธํ ภิกฺขํ คณฺหถาติ วตฺวา พุทฺธา นาม เอกฏฺฐาเนเยว นิพทฺธํ ภิกฺขํ น คณฺหนฺตีติ วุตฺเต เตนหิ ภนฺเต เย โว นิมนฺเตตุํ อาคจฺฉนฺติ เต อมฺหากํ สนฺติเก ปหิเณยฺยาถาติ อาหํสุ ฯ สตฺถา ตโต ปฏฺฐาย นิมนฺเตตุํ อาคเต คนฺตฺวา พฺราหฺมณสฺส อาโรเจถาติ เปเสสิ ฯ เต คนฺตฺวา มยํ สฺวาตนาย สตฺถารํ นิมนฺเตมาติ พฺราหฺมณํ วทนฺติ ฯ พฺราหฺมโณ ปุนทิวเส อตฺตโน เคหโต ภตฺตภาชนสูเปยฺยภาชนานิ อาทาย สตฺถุ นิสีทนฏฺฐานํ คจฺฉติ ฯ อญฺญตฺถ ปน นิมนฺตเน อสติ สตฺถา พฺราหฺมณสฺเสว เคเห ภตฺตกิจฺจํ กโรติ ฯ เต อุโภปิ อตฺตโน เทยฺยธมฺมํ นิจฺจกาลํ ตถาคตสฺส เทนฺตา ธมฺมกถํ สุณนฺตา อนาคามิผลํ ปาปุณึสุ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. ครั้งนั้น อ. พระศาสดา ตรัสแล้วว่า ดูก่อนอุบาสก ท. อ. ท่าน ท. เป็นผู้มาแล้ว ย่อมเป็น เพราะเหตุไร ดังนี้ กะอุบาสก ท. เหล่านั้น ฯ อ. อุบาสก ท. เหล่านั้น กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. ข้าพระองค์ ท. เป็นผู้มาแล้ว เพื่อประโยชน์แก่กันฟังซึ่งธรรม ย่อมเป็น ดังนี้ ฯ อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้วว่า ก็ อ. ธรรม อันท่าน ท. ฟังแล้ว หรือ ดังนี้ ฯ อ. อุบาสก ท. เหล่านั้น กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. ข้าพระองค์ ท. เข้าไปหาแล้ว ซึ่งพระเถระชื่อว่าเรวตะ แต่ต้น, อ. พระเถระชื่อว่าเรวตะนั้น ไม่กล่าวแล้ว ซึ่งคํา อะไร ๆ กับ ด้วยข้าพระองค์ ท., อ. ข้าพระองค์ ท. โกรธแล้ว ต่อพระเถระชื่อว่าเรวตะนั้น เข้าไปหาแล้ว ซึ่งพระเถระชื่อว่าสารีบุตร, อ. อภิธรรม อันมาก อันพระเถระชื่อว่าสารีบุตรนั้น กล่าวแล้ว แก่ข้าพระองค์ ท., อ. ข้าพระองค์ ท. กําหนดไม่ได้แล้ว ซึ่งอภิธรรมนั้น โกรธแล้ว เข้าไปหาแล้ว ซึ่งพระเถระ ชื่อว่าอานนท์, อ. ธรรม อันมีประมาณน้อยเทียว อันพระเถระชื่อว่าอานนท์นั้น กล่าวแล้ว แก่ข้าพระองค์ ท., อ. ข้าพระองค์ ท. โกรธแล้ว ต่อพระเถระชื่อว่าอานนท์แม้นั้น เป็นผู้มาแล้ว ในที่นี้ ย่อมเป็น ดังนี้ ฯ อ. พระศาสดา ทรงสดับแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าว ของอุบาสกนั้น ตรัสแล้วว่า ดูก่อนอตุละ อ. อันนินทา หรือ หรือว่า อ. อันสรรเสริญนั่น อันชน ท. ประพฤติแล้วนั่นเทียว จําเดิม แต่กาลมีในก่อน, อ. ชน ท. ย่อมตําหนิ นั่นเทียว แม้ซึ่งบุคคล ผู้เป็นผู้นิ่งเป็นแล้ว แม้ซึ่งบุคคลผู้มีวาจาเป็นเครื่องกล่าวมาก แม้ซึ่งบุคคล ผู้มีวาจาเป็นเครื่องกล่าวน้อย, ด้วยว่า อ. บุคคล ผู้อันบุคคลพึงตําหนิ โดยส่วนเดียวนั่นเทียว หรือ หรือว่า อ. บุคคล ผู้อันบุคคลพึงสรรเสริญ โดยส่วนเดียวนั่นเทียว ย่อมไม่มี, อ. ชน ท. บางพวก ย่อมนินทา แม้ซึ่งพระราชา ท., อ. ชน ท. บางพวก ย่อมสรรเสริญ แม้ซึ่งพระราชา ท., อ. ชน ท. บางพวก ย่อมนินทา แม้ซึ่งแผ่นดินใหญ่, อ. ชน ท. บางพวก ย่อมสรรเสริญ แม้ซึ่งแผ่นดินใหญ่, อ. ชน ท. บางพวก ย่อมนินทา แม้ซึ่งพระจันทร์และพระอาทิตย์ ท., อ. ชน ท. บางพวก ย่อมสรรเสริญ แม้ซึ่งพระจันทร์และพระอาทิตย์ ท., อ. ชน ท. บางพวก ย่อมนินทา แม้ซึ่งธาตุ ท. มีอากาศเป็นต้น, อ. ชน ท. บางพวก ย่อมสรรเสริญ แม้ซึ่งธาตุ ท. มีอากาศเป็นต้น, อ. ชน ท. บางพวก ย่อมนินทา แม้ซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ประทับนั่งตรัสอยู่ ซึ่งธรรม ในท่ามกลางแห่งบริษัทสี่, อ. ชน ท. บางพวก ย่อมสรรเสริญ แม้ซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ประทับนั่งตรัสอยู่ ซึ่งธรรม ในท่ามกลางแห่งบริษัทสี่, จริงอยู่ อ. การนินทา หรือ หรือว่า อ. การสรรเสริญ แห่งบุคคล ท. ผู้ทั้งบอดทั้งเขลา เป็นประมาณหามิได้ ย่อมเป็น, ส่วนว่า อ. บุคคล ผู้อันบุคคล ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องกําจัด ผู้เป็นบัณฑิต นินทาแล้ว ชื่อว่า เป็นผู้อันท่านนินทาแล้ว ย่อมเป็น, อ. บุคคล ผู้อันบุคคลผู้มีปัญญา เป็นเครื่องกําจัด ผู้เป็นบัณฑิต สรรเสริญแล้ว ชื่อว่า เป็นผู้อันท่านสรรเสริญแล้ว ย่อมเป็น ดังนี้ ได้ตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถา ท. เหล่านี้ ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. ดังได้สดับมา ในกาลที่พระผู้มีพระภาคเจ้ามีภิกษุสงฆ์แวดล้อม เสด็จเข้าไปเมืองสาเกต เพื่อบิณฑบาต พราหมณ์เฒ่าชาวเมืองสาเกตคนหนึ่ง กําลังเดินออกไปจากพระนคร พบพระทศพลที่ระหว่างประตู จึงหมอบลงแทบพระบาททั้ง ๒ แล้ว จับที่ข้อพระบาทไว้มั่น พลางกล่าวว่า พ่อ บุตรทั้งหลายพึงปรนนิบัติมารดาบิดา ในเวลาที่ท่านทั้งสองแก่แล้ว ชื่อมิใช่หรือ ทําไมพ่อจึงไม่แสดงพระองค์ (ให้ปรากฏ) แก่พวก ข้าพระองค์สิ้นกาลประมาณเพียงนี้ ข้าพระองค์เห็นพระองค์ก่อน, ขอพระองค์จงเสด็จมาเยี่ยมมารดาบ้าง ดังนี้แล้ว ได้พาพระบรมศาสดาไปสู่เรือนของตนแล้ว ฯ พระบรมศาสดาเสด็จไปที่เรือนนั้นแล้ว ประทับนั่งบนอาสนะที่เขาปูลาดแล้ว พร้อมกับภิกษุสงฆ์ ฯ ฝ่ายพราหมณีมาแล้ว หมอบแทบพระบาททั้ง ๒ ของพระบรมศาสดาแล้วทูลว่า พ่อ พ่อไปที่ไหนตลอดกาลประมาณเพียงนี้ ธรรมดามารดาบิดา อันบุตรธิดาควรบํารุงในเวลาที่ท่านแก่เฒ่า ชื่อมิใช่หรือ ดังนี้แล้ว ให้บุตรธิดาทั้งหลายถวายบังคมแล้วด้วยบอกว่า พวกเจ้าจงมา, จงถวายบังคมพระพี่ชาย ฯ แม้สามีภรรยาทั้งสองนั้น มีใจยินดีแล้วอังคาสภิกษุสงฆ์ซึ่งมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขแล้ว ทูลว่า ขอพระองค์โปรดรับภิกษาที่เรือนนี้เท่านั้นเป็นประจํา พระเจ้าข้า เมื่อพระบรมศาสดาตรัสว่า ธรรมดาพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมไม่ทรงรับภิกษาในที่แห่งเดียวเท่านั้นเป็นนิตย์ จึงกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ถ้าอย่างนั้น ขอพระองค์ พึงส่งพวกคนที่มาเพื่อนิมนต์พระองค์ไปที่สํานักของพวกข้าพระองค์ ฯ ตั้งแต่นั้นมา พระบรมศาสดาทรงส่งพวกคนที่มาเพื่อนิมนต์ไป ด้วยพระดํารัสว่า พวกท่านจงไปบอกแก่พราหมณ์เถิด ฯ พวกเขาย่อมไปบอกกะพราหมณ์ว่า พวกเราจะนิมนต์พระบรมศาสดา เพื่อเสวยในวันพรุ่งนี้ ฯ ในวันรุ่งขึ้น พราหมณ์ก็ถือภาชนะภัตและภาชนะแกง จากเรือนของตนไปสู่สถานที่ที่พระบรมศาสดาประทับนั่งอยู่ ฯ ก็เมื่อไม่มีกิจนิมนต์ในที่อื่น พระบรมศาสดาย่อมทรงทําภัตกิจที่เรือนของพราหมณ์นั่นแล ฯ แม้สามีภรรยาทั้งสองนั้น ถวายไทยธรรมของตนแด่พระตถาคตอยู่ ฟังธรรมกถาอยู่ตลอดกาลเป็นนิตย์ บรรลุอนาคามิผลแล้ว ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๐
แปล โดยพยัญชนะ
(มาร ภาค ๘ หน้า ๓๓ – ๓๔)
๑. เอกทิวสํ หิ วิกาเล สมฺพหุลา เถรา เชตวนมหาวิหารํ ปวิสิตฺวา ราหุลตฺเถรสฺส วสนฏฺฐานํ คนฺตฺวา ตํ วุฏฺฐาเปสุํ ฯ โส อญฺ ตฺถ วสนฏฺฐานํ อปสฺสนฺโต คนฺตฺวา ตถาคตสฺส คนฺธกุฏิยา ปมุเข นิปชฺชิ ฯ ตทา โส อายสฺมา อรหตฺตํ ปตฺโต อวสฺสิโก ว อโหสิ ฯ มาโร วสวตฺตี ภวเน ฐฃิโตเยว ตํ อายสฺมนฺตํ คนฺธกุฏิปฺปมุเข นิปนฺนํ ทิสฺวา จินฺเตสิ สมณสฺส โคตมสฺส รุชนกา องฺคุลี พหิ นิปนฺนา สยํ อนฺโตคนฺธกุฏิยํ นิปนฺโน องฺคุลิยา ปีฬิยมานาย สยํ ปีฬิโต ภวิสฺสตีติ ฯ โส มหนฺตํ หตฺถิราชวณฺณํ อภินิมฺมินิตฺวา อาคมฺม โสณฺฑาย เถรสฺส มตฺถกํ ปริกฺขิปิตฺวา มหนฺเตน สทฺเทน โกญฺจรวํ รวิ ฯ สตฺถา คนฺธกุฏิยํ นิปนฺโน ตสฺส มารภาวํ ตฺวา มาร ตาทิสานํ สตสหสฺเสนาปิ มม ปุตฺตสฺส ภยํ อุปฺปาเทตุํ น สกฺกา ปุตฺโต หิ เม อสนฺตาสี วีตตณฺโห มหาวิริโย มหาปญฺโญติ วตฺวา อิมา คาถา อภาสิ
นิฏฺฐํ คโต อสนฺตาสี วีตตณฺโห อนงฺคโณ
อจฺฉินฺทิ ภวสลฺลานิ อนฺติโมยํ สมุสฺสโย
วีตตณฺโห อนาทาโน นิรุตฺติปทโกวิโท
อกฺขรานํ สนฺนิปาตํ ชญฺญา ปุพฺพาปรานิ จ
ส เว อนฺติมสารีโร มหาปญฺโญ (มหาปุริโสติ) วุจฺจตีติ ฯ
แปล โดยอรรถ
(อปุตฺตกเสฏฺฐี ภาค ๘ หน้า ๔๒ – ๔๓)
๒. ตสฺส กิร กาลกิริยํ สุตฺวา ราชา ปเสนฺทิโกสโล อปุตฺตกํ สาปเตยฺยํ กสฺส ปาปุณาตีติ ปุจฺฉิตฺวา รญฺโญติ สุตฺวา สตฺตหิ ทิวเสหิ ตสฺส เคหโต ธนํ ราชกุลํ อภิหราเปตฺวา สตฺถุ สนฺติกํ อุปสงฺกมิตฺวา หนฺท กุโต นุ ตฺวํ มหาราช อาคจฺฉสิ ทิวาทิวสฺสาติ วุตฺเต อิธ ภนฺเต สาวตฺถิยํ เสฏฺฐี คหปติ กาลกโต ตมหํ อปุตฺตกํ สาปเตยฺยํ ราชนฺเตปุรํ อภิหริตฺวา อาคจฺฉามีติ อาห ฯ สพฺพํ สุตฺเต อาคตนเยเนว เวทิตพฺพํ ฯ โส กิร สุวณฺณปาฏิยา นานคฺครสโภชเน อุปนีเต เอวรูปํ นาม มนุสฺสา ภุญฺชนฺติ กึ ตุมฺเห มยา สทฺธึ อิมสฺมึ เคเห เกลึ กโรถาติ โภชเน อุปฏฺฐิเต เลฑฺฑุทณฺฑาทีหิ ปหริตฺวา ปลาเปตฺวา อิทํ มนุสฺสานํ โภชนนฺติ กาณาชกํ พิลงฺคทุติยํ ภุญฺชติ วตฺถยานจฺฉตฺเตสุปิ มนาเปสุ อุปฏฺฐาปิเตสุ มนุสฺเส เลฑฺฑุทณฺฑาทีหิ ปหรนฺโต ปลาเปตฺวา สาณานิ ธาเรติ ชชฺชรรถเกน ยาติ ปณฺณจฺฉตฺเตน ธาริยมาเนนาติ เอวํ รญฺญา อาโรจิเต สตฺถา ตสฺส ปุพฺพกมฺมํ กเถสิ
ภูตปุพฺพํ โส มหาราช เสฏฺฐี คหปติ ตครสิขึ นาม ปจฺเจกพุทฺธํ ปิณฺฑปาเตน ปฏิปาเทสิ เทถ สมณสฺส ปิณฺฑนฺติ วตฺวา อุฏฺฐายาสนา ปกฺกามิ ฯ ตสฺมึ กิร อสฺสทฺเธ พาเล เอวํ วตฺวา ปกฺกนฺเต ตสฺส ภริยา สทฺธา ปสนฺนา จิรสฺส วต เม อิมสฺส มุขโต เทหีติ วจนํ สุตํ อชฺช มม มโนรโถ ปูเรติ ปิณฺฑปาตํ ทสฺสามีติ ปจฺเจกพุ ทฺธสฺส ปตฺตํ คเหตฺวา ปณีตโภชนสฺส ปูเรตฺวา อทาสิ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. ดังจะกล่าวโดยพิสดาร ในวันหนึ่ง อ. พระเถระ ท. ผู้มากพร้อม เข้าไปแล้ว สู่มหาวิหารชื่อว่าเชตวัน ในสมัยมีกาลไปปราศแล้ว ไปแล้ว สู่ที่เป็นที่อยู่ ของพระเถระชื่อว่าราหุล ยังพระเถระชื่อว่าราหุล นั้น ให้ลุกขึ้นแล้ว ฯ อ. พระเถระชื่อว่าราหุลนั้น ไม่เห็นอยู่ ซึ่งที่เป็นที่อยู่ ในที่อื่น ไปแล้ว นอนแล้ว ที่หน้ามุข แห่งพระคันธกุฎี ของพระตถาคต ฯ ในกาลนั้น อ. พระเถระชื่อว่าราหุล ผู้มีอายุ นั้น บรรลุแล้ว ซึ่งพระอรหัต เป็นผู้มีพรรษาหามิได้เทียว ได้เป็นแล้ว ฯ อ. มาร ชื่อว่าวสวัสดี ดํารงอยู่แล้ว ในภพนั่นเทียว เห็นแล้ว ซึ่งพระเถระชื่อว่าราหุล ผู้มีอายุ นั้น ผู้นอนแล้ว ที่หน้ามุขแห่งพระคันธกุฎี คิดแล้วว่า อ. พระหน่อน้อย ผู้เสียดแทง ของพระสมณะ ผู้โคดม นอนแล้ว ในภายนอก, อ. พระสมณะ ผู้โคดม บรรทมแล้ว ในภายใน แห่งพระคันธกุฎี เอง, ครั้นเมื่อพระหน่อน้อย อันเรา บีบคั้นอยู่, อ. พระสมณะ ผู้โคดมนั้น เป็นผู้อันเราบีบคั้นแล้ว เอง จักเป็น ดังนี้ ฯ อ. มารนั้น เนรมิตเฉพาะแล้ว ซึ่งเพศแห่งช้างผู้พระราชา เชือกใหญ่ มาแล้ว รัดแล้ว ซึ่งกระหม่อม ของพระเถระ ด้วยงวง ร้องแล้ว ร้องเพียงดังนกกะเรียน ด้วยเสียง อันใหญ่ ฯ อ. พระศาสดา บรรทมแล้ว ในพระคันธกุฎี ทรงทราบแล้ว ซึ่งความที่แห่งช้างนั้นเป็นมาร ตรัสแล้วว่า ดูก่อนมาร แม้อันแสน แห่งชน ท. ผู้เช่นกับด้วยท่าน ไม่อาจ เพื่ออัน ยังความกลัวให้เกิดขึ้น แก่บุตร ของเรา, เพราะว่า อ. บุตร ของเรา เป็นผู้ไม่สะดุ้งโดยปกติ เป็นผู้มีตัณหาไปปราศแล้ว เป็นผู้มีความเพียรมาก เป็นผู้มีปัญญามาก ย่อมเป็น ดังนี้ ได้ตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถา ท. เหล่านี้ว่า
อ. บุคคล ใด เป็นผู้ถึงแล้ว ซึ่งความสําเร็จ เป็นผู้ไม่สะดุ้งโดยปกติ
เป็นผู้มีตัณหาไปปราศแล้ว เป็นผู้มีกิเลสเพียงดังเนินหามิได้ เป็น
ได้ตัดแล้ว ซึ่งลูกศร อันยังสัตว์ให้ไปสู่ภพโดยปกติ ท., อ. ร่างกายนี้
ของบุคคลนั้น เป็นสภาพอันมีในที่สุด ย่อมเป็น, อ. บุคคล ใด เป็นผู้
มีตัณหาไปปราศแล้ว เป็นผู้มีความถือมั่นหามิได้ เป็นผู้ฉลาดในนิรุตติ
และบท เป็น พึงรู้ ซึ่งอันประชุม แห่งอักษร ท. ด้วย ซึ่งเบื้องต้นและ
เบื้องปลาย ท. แห่งอักษร ท. ด้วย อ. บุคคลนั้นแล ผู้มีสรีระอันมีใน
ที่สุด อันเรา ย่อมเรียกว่า ผู้มีปัญญามาก (ผู้เป็นมหาบุรุษ) ดังนี้ ดังนี้ ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. ดังได้สดับมา พระเจ้าประเสนทิโกศลทรงสดับการทํากาละของเศรษฐีนั้นแล้ว ตรัสถามว่า ทรัพย์สมบัติที่ไร้บุตรจะถึงแก่ใคร ทรงสดับว่า ถึงแก่พระราชา จึงทรงให้นําทรัพย์จากเรือนของเศรษฐีนั้น มายังราชตระกูลโดย (ใช้เวลา) ๗ วัน เสด็จเข้าไปสู่สํานักพระบรมศาสดา เมื่อพระบรมศาสดาตรัสว่า ขอเชิญมหาบพิตร พระองค์เสด็จมาจากไหนหนอแต่ยังวัน จึงทูลว่า พระเจ้าข้า คฤหบดีผู้เป็นเศรษฐีในกรุงสาวัตถีนี้ ทํากาละเสียแล้ว หม่อมฉันนําทรัพย์สมบัติซึ่งไร้บุตรนั้นไปยังภายในพระราชวังแล้วจึงมา ฯ เรื่องทั้งปวง พึงทราบตามนัยที่มาในพระสูตรนั่นแหละ ฯ เมื่อพระราชากราบทูลอย่างนี้ว่า ได้ยินว่า เศรษฐีนั้น เมื่อเขานําโภชนะมีรสเลิศต่าง ๆ เข้าไปให้ด้วยถาดทอง ก็กล่าวว่า พวกมนุษย์ย่อมบริโภคโภชนะชื่อเห็นปานนี้ (เชียวหรือ) พวกเจ้าจะทําการประชดกับเราในเรือนนี้หรือ ? เมื่อเขาเข้าไปตั้งโภชนะไว้ให้ ก็ประหาร (มนุษย์เหล่านั้น) ด้วยก้อนดินและท่อนไม้เป็นต้น ให้หนีไปแล้ว บริโภคข้าวปลายเกรียน มีน้ำผักดองเป็นที่ ๒ ด้วยคิดว่า นี้เป็นโภชนะของพวกมนุษย์ แม้เมื่อเขาเข้าไปตั้งผ้า ยาน และร่ม ที่น่าพอใจไว้ให้ ก็ประหารพวกมนุษย์ด้วยก้อนดินและท่อนไม้เป็นต้น ให้หนีไปแล้ว นุ่งห่มผ้าป่าน กางร่มใบไม้ เดินทางด้วยรถเก่า ๆ พระบรมศาสดา จึงตรัสเล่าบุรพกรรมของเศรษฐีนั้นว่า มหาบพิตร เรื่องเคยมีมาแล้ว คฤหบดีผู้เศรษฐีนั้นต้อนรับพระปัจเจกพุทธเจ้าชื่อว่าตครสิขี ด้วยบิณฑบาต กล่าวว่า พวกท่านจงถวายบิณฑบาตแก่สมณะ ดังนี้แล้ว ก็ลุกจากอาสนะหลีกไป ฯ ได้ยินว่า เมื่อเศรษฐี ผู้ไม่มีศรัทธา ผู้โง่เขลานั้น กล่าวอย่างนั้นแล้วหลีกไป, ภรรยาของเขาเป็นผู้มีศรัทธาเลื่อมใส คิดว่า นานจริงหนอ เราจึงได้ยินคําว่า จงให้ จากปากของเศรษฐีนี้ มโนรถของเราจะเต็มในวันนี้ เราจักถวายบิณฑบาต แล้วรับบาตรของพระปัจเจกพุทธเจ้า บรรจุบาตรให้เต็มด้วยโภชนะอันประณีต แล้วจึงได้ถวายแล้ว ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๐ (ครั้งที่ ๒)
แปล โดยพยัญชนะ
(อุคฺคเสนเสฏฺฐิปุตฺต ภาค ๘ หน้า ๒๖ – ๒๗)
๑. เทสนาวสาเน จตุราสีติยา ปาณสหสฺสานํ ธมฺมาภิสมโย อโหสิ ฯ เสฏฺฐิตฺโตปิ วํสมตฺถเก ฐิตโก ว สห ปฏิสมฺภิทาหิ อรหตฺตํ ปตฺวา วํสโต โอรุยฺห สตฺถุ สนฺติกํ อาคนฺตฺวา ปญฺจปฺปติฏฺฐิเตน วนฺทิตฺวา สตฺถารํ ปพฺพชฺชํ ยาจิ ฯ อถ นํ สตฺถา ทกฺขิณหตฺถํ ปสาเรตฺวา เอหิ ภิกฺขูติ อาห ฯ โส ตาวเทว อฏฺฐปริกฺขารธโร สฏฺฐิวสฺสตฺเถโร วิย อโหสิ ฯ อถ นํ ภิกฺขู อาวุโส อุคฺคเสน สฏฺฐิหตฺถสฺส เต วํสสฺส มตฺถกโต โอตรนฺตสฺส ภยํ นาม นาโหสีติ ปุจฺฉิตฺวา นตฺถิ เม อาวุโส ภยนฺติ วุตฺเต สตฺถุ อาโรเจสุํ ภนฺเต อุคฺคเสโน น ภายามีติ วทติ อภูตํ วตฺวา อญฺํ พฺยากโรตีติ ฯ สตฺถา น ภิกฺขเว มม ปุตฺเตน อุคฺคเสเนน สทิสา ฉินฺนสํโยชนา ภิกฺขู ภายนฺติ น สนฺตสนฺตีติ วตฺวา พฺราหฺมณวคฺเค อิมํ คาถมาห
สพฺพสํโยชนํ เฉตฺวา โย เว น ปริตสฺสติ
สงฺคาติคํ วิสํยุตฺตํ ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณนฺติ ฯ
ปุเนกทิวสํ ภิกฺขู ธมฺมสภายํ กถํ สมุฏฺฐาเปสุํ กึ นุ โข อาวุโส เอวํ อรหตฺตุปนิสฺสยสมฺปนฺนสฺส ภิกฺขุโน นฏธีตรํ นิสฺสาย นเฏหิ สทฺธึ วิจรณการณํ กึ อรหตฺตสฺส อุปนิสฺสยการณนฺติ ฯ สตฺถา อาคนฺตฺวา กาย นุตฺถ ภิกฺขเว เอตรหิ กถาย สนฺนิสินฺนาติ ปุจฺฉิตฺวา อิมาย นามาติ วุตฺเต ภิกฺขเว อุภยมฺเปตํ อิมินาเอว กตนฺติ วตฺวา ตมตฺถํ ปกาเสตุํ อตีตํ อาหริ ฯ
แปล โดยอรรถ
(อุคฺคเสนเสฏฺฐิปุตฺต ภาค ๘ หน้า ๒๗ – ๒๘)
๒. อตีเต กิร กสฺสปทสพลสฺส สุวณฺณเจติเย กริยมาเน พาราณสีวาสิโน กุลปุตฺตา ปหูตํ ขาทนียํ โภชนียํ ยานเกสุ อาโรเปตฺวา หตฺถกมฺมํ กริสฺสามาติ เจติยฏฺฐานํ คจฺฉนฺตา อนฺตรามคฺเค เอกํ เถรํ ปิณฺฑาย ปวิสนฺตํ ปสฺสึสุ ฯ อเถกา กุลธีตา เถรํ โอโลเกตฺวา สามิกํ อาห สามิ อยฺโย โน ปิณฺฑาย ปวิสติ ยานเก จ โน ปหูตํ ขาทนียํ โภชนียํ ปตฺตมสฺส อาหร ภิกฺขํ ทสฺสามาติ ฯ โส ปตฺตํ อาหริ ฯ ตํ ขาทนียโภชนียสฺส ปูเรตฺวา เถรสฺส หตฺเถ ปติฏฺฐาเปตฺวา อุโภปิ ปตฺถนํ กรึสุ ภนฺเต ตุมฺเหหิ ทิฏฺฐธมฺมสฺเสว ภาคิโน ภเวยฺยามาติ ฯ โสปิ เถโร ขีณาสโว ตสฺมา โอโลเกนฺโต เตสํ ปตฺถนาย สมิชฺฌนภาวํ ตฺวา สิตํ อกาสิ ฯ ตํ ทิสฺวา สา อิตฺถี สามิกํ อาห สามิ อมฺหากํ อยฺโย สิตํ กโรติ เอโส นฏทารโก ภวิสฺสตีติ ฯ สามิโกปิสฺสา เอวํ ภวิสฺสติ ภทฺเทติ วตฺวา ปกฺกามิ ฯ อิทํ เตสํ ปุพฺพกมฺมํ ฯ เต ตตฺถ ยาวตายุกํ ฐตฺวา เทวโลเก นิพฺพตฺติตฺวา ตโตม จวิตฺวา สา อิตฺถี นฏเคเห นิพฺพตฺติ ปุริโส เสฏฺฐิเคเห ฯ โส เอวํ ภทฺเท ภวิสฺสตีติ ตสฺสา ปฏิ วจนฺสส ทินฺนตฺตา นเฏหิ สทฺธึ วิจริ ขีณาสวตฺเถรสฺส ทินฺนปิณฺฑปาตํ นิสฺสาย อรหตฺตํ ปาปุณิ ฯ สาปิ นฏธีตา ยา เม สามิกสฺส คติ มยฺหํปิ สา เอว คตีติ สนฺติเก ปพฺพชิตฺวา อรหตฺเต ปติฏฺฐหีติ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. ในกาลเป็นที่สุดลงแห่งเทศนา อ. การรู้พร้อมเฉพาะซึ่งธรรม ได้มีแล้ว แก่พันแห่งสัตว์ผู้มีลมปราณ ท. แปดสิบสี่ ฯ แม้ อ. บุตรของเศรษฐี ยืนอยู่แล้ว บนที่สุดแห่งไม้แป้นเทียว บรรลุแล้ว ซึ่งพระอรหัต กับ ด้วยปฏิสัมภิทา ท. ลงแล้ว จากไม้แป้น มาแล้ว สู่สํานัก ของพระศาสดา ถวายบังคมแล้ว ด้วยอันตั้งไว้เฉพาะแห่งองค์ห้า ทูลขอแล้ว ซึ่งการบวช กะพระศาสดา ฯ ครั้งนั้น อ. พระศาสดา ทรงเหยียดออกแล้ ว ซึ่งพระหัตถ์เบื้องขวา ตรัสแล้วว่า อ. เธอ เป็นภิกษุ เป็น จงมา ดังนี้ กะบุตรของเศรษฐีนั้น ฯ อ. บุตรของเศรษฐีนั้น เป็นผู้ทรงไว้ซึ่งบริขารแปด เป็นราวกะว่าพระเถระผู้มีพรรษาหกสิบ ได้เป็นแล้ว ในขณะนั้นนั่นเทียว ฯ ครั้งนั้น อ. ภิกษุ ท. ถามแล้ว ซึ่งภิกษุชื่อว่าอุคคเสนนั้นว่า ดูก่อนอุคคเสน ผู้มีอายุ ชื่อ อ. ความกลัว ไม่ได้มีแล้ว แก่ท่าน ผู้ข้ามลงอยู่ จากที่สุด แห่งไม้แป้น อันมีศอกหกสิบเป็นประมาณ หรือ ดังนี้, ครั้นเมื่อคําว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อ. ความกลัว ย่อมไม่มี แก่กระผม ดังนี้ อันภิกษุชื่อว่าอุคคเสนนั้น กล่าวแล้ว, กราบทูลแล้ว แก่พระศาสดาว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. ภิกษุชื่อว่าอุคคเสน ย่อมกล่าวว่า อ. กระผม ย่อมไม่กลัว ดังนี้, อ. ภิกษุชื่อว่าอุคคเสนนั้น กล่าวแล้ว ซึ่งคํา อันไม่มีแล้ว ย่อมพยากรณ์ ซึ่งพระอรหัตผลอันบุคคลพึงรู้ทั่ว ดังนี้ ฯ อ. พระศาสดา ตรัสแล้วว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. ภิกษุ ท. ผู้มีสังโยชน์อันตัดแล้ว ผู้เช่นกับ ด้วยอุคคเสน ผู้เป็นบุตร ของเรา ย่อมไม่กลัว, ย่อมไม่สะดุ้ง ดังนี้ ตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถา นี้ ในพราหมณวรรคว่า
อ. บุคคล ใด แล ตัดแล้ว ซึ่งสังโยชน์ทั้งปวง ย่อมไม่สะดุ้งรอบ, อ. เรา
ย่อมเรียก ซึ่งบุคคล ผู้ไปล่วงซึ่งกิเลสเป็นเครื่องข้อง ผู้พรากแล้ว (จาก
สังโยชน์) นั้น ว่าเป็นพราหมณ์ ดังนี้ ฯ
ในวันหนึ่งอีก อ. ภิกษุ ท. ยังวาจาเป็นเครื่องกล่าวว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อ. อะไร หนอ แล เป็นเหตุแห่งการเที่ยวไป กับ ด้วยนักฟ้อน ท. เพราะอาศัย ซึ่งธิดาของนักฟ้อนแห่งภิกษุ ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยอุปนิสัยแห่งพระอรหัต อย่างนี้ ย่อมเป็น, อ. อะไร เป็นเหตุแห่งอุปนิสัยแห่งพระอรหัต ย่อมเป็น ดังนี้ ให้ตั้งขึ้นพร้อมแล้ว ในโรงเป็นที่กล่าวกับเป็นที่แสดงซึ่งธรรม ฯ อ. พระศาสดา เสด็จมาแล้ว ตรัสถามแล้วว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. เธอ ท. เป็นผู้นั่งพร้อมกันแล้ว ด้วยวาจาเป็นเครื่องกล่าว อะไร หนอ ย่อมมี ในกาลนี้ ดังนี้, ครั้นเมื่อคําว่า อ. ข้าพระองค์ ท. เป็นผู้นั่งพร้อมกันแล้ว ด้วยวาจาเป็นเครื่องกล่าว ชื่อ นี้ ย่อมมี ในกาลนี้ ดังนี้ อันภิกษุ ท. เหล่านั้น กราบทูลแล้ว, ตรัสแล้วว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. เหตุนั่น แม้ทั้งสอง อันอุคคเสนนี้นั่นเทียว กระทําแล้ว ดังนี้ ทรงนํามาแล้ว ซึ่งเรื่องอันเป็นไปล่วงแล้ว เพื่ออันประกาศ ซึ่งเนื้อความนั้น ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. ดังได้สดับมา ในอดีตกาล เมื่อประชาชนกําลังสร้างพระเจดีย์ทองเพื่อพระกัสสปทศพล พวกกุลบุตรชาวเมองพาราณสี บรรทุกของเคี้ยวของบริโภคจํานวนมากในยานน้อยทั้งหลาย เดินไปยังเจดียสถานด้วยตั้งใจว่า พวกเราจักกระทําหัตถกรรม พบพระเถระรูปหนึ่ง ซึ่งกําลังเข้าไปเพื่อบิณฑบาตในระหว่างทางแล้ว ฯ ลำดับนั้น นางกุลธิดาคนหนึ่งมองดูพระเถระแล้วพูดกะสามีว่า นาย พระผู้เป็นเจ้าของพวกเราเข้ามาอยู่เพื่อบิณฑบาต อนึ่ง ของเคี้ยวของบริโภคของพวกเราในยานน้อย ก็มีเป็นอันมาก ท่านจงนําบาตรของพระผู้เป็นเจ้านั้นมา พวกเราจักถวายภิกษา ฯ สามีนําบาตรมาแล้ว ฯ ภรรยาบรรจุบาตรนั้นให้เต็มด้วยของเคี้ยวของบรโภคแล้ว ให้สามีวางลงในมือของพระเถระ, แม้ทั้งสองคนที่ทําความปรารถนาว่า ท่านเจ้าข้า พวกข้าพเจ้า พึงเป็นผู้มีส่วนแห่งธรรมอันท่านเห็นแล้วนั่นแล ฯ แม้พระเถระนั้น เป็นพระขีณาสพ เพราะฉะนั้น ท่านเมื่อเลงดู ก็ทราบว่าความปรารถนาของสองสามีภรรยานั้น จะสําเร็จได้ จึงได้ทําการแย้มแล้ว ฯ หญิงนั้น เห็นอาการนั้นเขาจึงพูดกะสามีว่า นาย พระคุณเจ้าของพวกเรา ย่อมทำการแย้ม ท่านคงจักเป็นเด็กนักฟ้อน ฯ ฝ่ายสามีของนางตอบว่า ก็จักเป็นอย่างนั้น นางผู้เจริญ ดังนี้แล้ว หลีกไป ฯ นี้เป็นบุรพกรรมของสองสามีภรรยานั้น ฯ
พวกเขาดำรงอยู่ในอัตภาพนั้นชั่วอายุแล้ว ก็บังเกิดในเทวโลก เคลื่อนจากเทวโลกนั้นแล้ว, หญิงนั้นบังเกิดในเรือนนักฟ้อน (ฝ่าย) ชายบังเกิดในเรือนของเศรษฐีแล้ว ฯ พระอุคคเสนนั้น เพราะว่าตนให้คําตอบแก่ภรรยานั้นว่า จักเป็นอย่างนั้น นางผู้เจริญ จึงท่องเที่ยวไปกับพวกนักฟ้อน อาศัยบิณฑบาตที่ถวายแล้วแก่พระเถระขีณาสพ จึงบรรลุพระอรหัตแล้ว ฯ
ฝ่ายลูกสาวนักฟ้อนนั้นคิดว่า อันใดเป็นคติของสามีเรา อันนั้นเอง ก็เป็นคติแม้ของเรา ดังนี้แล้ว บวชในสํานักนางภิกษุณีทั้งหลาย ดํารงอยู่ในพระอรหัตแล้วแล ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๕๙
แปล โดยพยัญชนะ
(อญฺญตรกุลปุตฺต ภาค ๗ หน้า ๑๕ – ๑๖)
๑. อถ นํ สตฺถา อุปาสก ปุพฺเพปิ มยา อิตฺถิโย นาม นทีอาทิสทิสา ตาสุ ปณฺฑิเตน โกโธ น กาตพฺโพติ วุตฺตํ ตฺวํ ปน ภวปฏิจฺฉนฺนตฺตา น สลฺลกฺเขสีติ วตฺวา เตน ยาจิโต ชาตกํ วิตฺถาเรตฺวา อุปาสก อิตฺถิยา หิ อติจารินีภาโว ทานํ เทนฺตสฺส มจฺเฉรํ อิธโลกปรโลเกสุ สตฺตานํ อกุสกมฺมํ วินาสนตฺเถน มลํ อวิชฺชา ปน สพฺพมลานํ อุตฺตมํ มลนฺติ วตฺวา อิมา คาถา อภาสิ
มลิตฺถิยา ทุจฺจริตํ มจฺเฉรํ ททโต มลํ
มลา เว ปาปกา ธมฺมา อสฺมึ โลเก ปรมฺหิ จ
ตโต มลา มลตรํ อวิชฺชา ปรมํ มลํ
เอตํ มลํ ปหนฺตฺวาน นิมฺมลา โหถ ภิกฺขโวติ ฯ
ตตฺถ ทุจฺจริตนฺติ อติจาโร ฯ อติจารินิญฺหิ อิตฺถึ สามิโกปิ เคหา นีหรติ มาตาปิตูนํ สนฺติกํ คจฺฉนฺตํ ตฺวํ กุลสฺส อคารวภูตา อกฺขีหิปิ น ทฏฺ พฺพาติ ตํ นีหรนฺติ สา อนาถา วิจรนฺตี มหาทุกฺขํ ปาปุณาติ เตนสฺสา ทุจฺจริตํ มลนฺติ วุตฺตํ ฯ ททโตติ ทายกสฺส ฯ ยสฺส หิ เขตฺตกสนกาเล อิมสฺมึ เขตฺเต สมฺปนฺเน สลากภตฺตาทีนิ ทสฺสามีติ จินฺเตนฺตสฺส นิปฺผนฺเน สสฺเส มจฺเฉรํ อุปฺปชฺชิตฺวา จาคจิตฺตํ นิวาเรติ โส มจฺเฉรวเสน จาคจิตฺเต อวิรุหนฺเต มนุสฺสสมฺปตฺตึ ทิพฺพสมฺปตฺตึ นิพฺพานสมฺปตฺตินฺติ ติสฺโส สมฺปตฺติโย น ลภติ เตน วุตฺตํ มจฺเฉรํ ททโต มลนฺติ ฯ อญฺเ สุปิ เอวรูเปสุ เอเสว นโย ฯ ปาปกา ธมฺมาติ อกุสลา ธมฺมา ปน อิธโลเก จ ปรโลเก จ มลเมว ฯ ตโตติ เหฐฏฺา วุตฺตมลโต ฯ มลตรนฺติ อติเรกมลํ โว กเถมีติ อตฺโถ ฯ อวิชฺชาติ อฏฺฐวตฺถุกํ อญฺญาณเมว ปรมํ มลํ ฯ ปหนฺตฺวานาติ เอตํ มลํ ชหิตฺวา ภิกฺขเว ตุมฺเห นิมฺมลา โหถาติ อตฺโถ ฯ
แปล โดยอรรถ
(จูฬสาริภิกฺขุ ภาค ๗ หน้า ๑๗)
๒. โส (จูฬสาริภิกฺขุ) กิร เอกทิวสํ เวชฺชกมฺมํ กตฺวา ปณีตโภชนํ ลภิตฺวา อาทาย นิกฺขมนฺโต อนฺตรามคฺเค เถรํ ทิสฺวา ภนฺเต อิทํ มยา เวชฺชกมฺมํ กตฺวา ลทฺธํ ตุมฺเห อญฺญตฺถ เอวรูปํ โภชนํ น ลภิสฺสถ อิมํ ภุญฺชถ อหํ เต เวชฺชกมฺมํ นิจฺจกาลํ เอวรูปํ อาหารํ อาหริสฺสามีติ อาห ฯ เถโร ตสฺส วจนํ สุตฺวา ตุณฺหีภาโต ว ปกฺกามิ ฯ ภิกฺขู วิหารํ อาคนฺตฺวา สตฺถุ ตมตฺถํ อาโรเจสุํ ฯ สตฺถา ภิกฺขเว อหิริโก นาม ปคพฺโภ กากสทิโส หุตฺวา เอกวีสติวิธาย อเนสนาย ตฺวา สุขํ ชีวติ หิโรตฺตปฺปสมฺปนฺโน ปน ทุกฺขํ ชีวตีติ วตฺวา อิมา คาถา อภาสิ
สุชีวํ อหิริเกน กากสูเรน ธํสินา
ปกฺขนฺทินา ปคพฺเภน สงฺกิลิฏฺเฐน ชีวิตํ
หิริมตา จ ทุชฺชีวํ นิจฺจํ สุจิคเวสินา
อลีเนนาปคพฺเภน สุทฺธาชีเวน ปสฺสตาติ ฯ
ตตฺถ อหิริเกนาติ ฉินฺนหิโรตฺตปฺปเกน ฯ เอวรูเปน หิ อมาตรเมว มาตา เมติ อปิตาทโย เอว ปิตา เมติอาทินา นเยน วตฺวา เอกวีสติวิธาย อเนสนาย ปติฏฺฐาย สุเขน ชีวิตุํ สกฺกา ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. ครั้งนั้น อ. พระศาสดา ตรัสแล้วว่า ดูก่อนอุบาสก อ. คําว่า ชื่อ อ. หญิง ท. เป็นผู้เช่นกับ ด้วยสถานที่มีแม่น้ำเป็นต้น ย่อมเป็น, อ. ความโกรธ อันบัณฑิต ไม่พึงกระทํา ในหญิง ท. เหล่านั้น ดังนี้ อันเรา กล่าวแล้ว แม้ในกาลก่อน, แต่ว่า อ. ท่าน ย่อมไม่กําหนด เพราะความที่แห่งตนเป็นผู้อันภพปกปิดแล้ว ดังนี้ กะกุลบุตรนั้น ผู้อันกุลบุตรนั้นทูลอ้อนวอนแล้ว ทรงยังชาดก ให้พิสดารแล้ว ตรัสแล้วว่า ดูก่อนอุบาสก ก็ อ. ความเป็นแห่งหญิงผู้ประพฤติล่วงโดยปกติ เป็นมลทิน ของหญิง ย่อมเป็น, อ. ความตระหนี่ เป็นมลทิน ของบุคคล ผู้ให้อยู่ ซึ่งทาน ย่อมเป็น, อ. อกุศลกรรม เป็นมลทิน ของสัตว์ ท. ในโลกนี้และโลกอื่น ท. เพราะอรรถว่าเป็นเครื่องยังสัตว์ ท. ให้พินาศ ย่อมเป็น, ส่วนว่า อ. อวิชชา เป็นมลทิน อันสูงสุด กว่ามลทิน ทั้งปวง ท. ย่อมเป็น ดังนี้ ได้ตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถา ท. เหล่านี้ว่า
อ. ความประพฤติชั่ว เป็นมลทิน ของหญิง ย่อมเป็น, อ. ความตระหนี่
เป็นมลทิน ของบุคคล ผู้ให้อยู่ ย่อมเป็น, อ. ธรรม ท. อันลามก
เป็นมลทินแล ในโลกนี้ด้วย ในโลกอื่นด้วย ย่อมเป็น, อ. เรา จะบอก
ซึ่งมลทินกว่า กว่ามลทินนั้น, อ. อวิชชา เป็นมลทิน อย่างยิ่ง
ย่อมเป็น, ดูก่อนภิกษุ ท. อ. เธอ ท. ละขาดแล้ว ซึ่งมลทินนั่น เป็นผู้
มีมลทินออกแล้ว จงเป็น ดังนี้ ฯ
อ. ความประพฤติล่วง ชื่อว่า ทุจฺจริตํ ในพระคาถานั้น ฯ ก็ แม้ อ. สามี ย่อมนําออก ซึ่งหญิง ผู้ประพฤติล่วงโดยปกติ จากเรือน, อ. มารดาและบิดา ท. ย่อมนําออก ซึ่งหญิงนั้น ผู้ไปอยู่ สู่สํานัก ของมารดาและบิดา ท. ด้วยคําว่า อ. เธอ ผู้เป็นคนไม่เคารพต่อตระกูลเป็นแล้ว อันเรา ท. ไม่พึงเห็น แม้ด้วยนัยน์ตา ท. ดังนี้; อ. หญิงนั้น เป็นผู้มีที่พึ่งหามิได้ เป็น เที่ยวไปอยู่ ย่อมถึง ซึ่งความทุกข์ใหญ่; เพราะเหตุนั้น อ. ความประพฤติชั่ว แห่งหญิงนั้น อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสแล้วว่า เป็นมลทิน ดังนี้ ฯ อ. อรรถว่า ของบุคคล ผู้ให้ ดังนี้ แห่งบทว่า ททโต ดังนี้ ฯ ก็ เมื่อบุคคลใด คิดอยู่ว่า ครั้นเมื่อนานี้ ถึงพร้อมแล้ว,อ. เรา จักถวาย ซึ่งภัต ท. มีสลากภัตเป็นต้น ดังนี้ ในกาลเป็นที่ไถซึ่งนา, ครั้นเมื่อข้าวกล้า สําเร็จแล้ว, อ. ความตระหนี่ เกิดขึ้นแล้ว ย่อมห้าม ซึ่งจิตอันประกอบพร้อมแล้วด้วยจาคะ, อ. บุคคลนั้น, ครั้นเมื่อจิตอันประกอบพร้อมแล้วด้วยจาคะ ไม่งอกงามอยู่ ด้วยอํานาจแห่งความตระหนี่, ย่อมไม่ได้ ซึ่งสมบัติ ท. สาม คือซึ่งสมบัติในมนุษย์ ซึ่งสมบัติอันเป็นทิพย์ ซึ่งสมบัติคือพระนิพพาน; เพราะเหตุนั้น อ.พระดํารัส ว่า มจฺเฉรํ ททโต มลํ ดังนี้ อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสแล้ว ฯ อ. นัย นั่นนั่นเทียว ในบท ท. อันมีอย่างนี้เป็นรูป แม้เหล่าอื่น ฯ
อ. อรรถว่า ส่วนว่า อ. ธรรม ท. อันเป็นอกุศล เป็นมลทินนั่นเทียว ในโลกนี้ด้วย ในโลกอื่นด้วย ย่อมเป็น ดังนี้ แห่งหมวดสองแห่งบทว่า ปาปกา ธมฺมา ดังนี้ ฯ
อ. อรรถว่ า กว่ามลทินอันเรากล่าวแล้ ว ในหนหลัง ดังนี้ แห่งบทว่า ตโต ดังนี้ ฯ
อ. อรรถว่า อ. เรา จะบอก ซึ่งมลทินอันยิ่งกว่า แก่เธอ ท. ดังนี้ แห่งบทว่า มลตรํ ดังนี้ ฯ
อ.อรรถว่า อ. ความไม่รู้ อันมีวัตถุแปดนั่นเทียว เป็นมลทิน อย่างยิ่ง ย่อมเป็น ดังนี้ แห่งบทว่า อวิชฺชา ดังนี้เป็นต้น ฯ
อ. อรรถว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. เธอ ท. ละแล้ว ซึ่งมลทินนั่น เป็นผู้มีมลทินออกแล้ว จงเป็น ดังนี้ แห่งบทว่า ปหนฺตฺวาน ดังนี้เป็นต้น ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. ดังได้สดับมา วันหนึ่ง พระจูฬสารีนั้นทําเวชกรรม ได้โภชนะอันประณีตแล้ว ถือออกไปอยู่ พบพระเถระในระหว่างทาง จึงเรียนว่า ท่านขอรับ กระผมทําเวชกรรมได้โภชนะนี้แล้ว ท่านจักไม่ได้โภชนะ เห็นปานนี้ในที่อื่น ขอท่านโปรดฉันโภชนะนี้ กระผมจักทําเวชกรรมแล้วนําอาหาร เห็นปานนี้มาเพื่อท่าน ตลอดกาลเป็นนิตย์ ฯ พระเถระฟังคําของเธอแล้ว ก็นิ่งเฉยเสีย หลีกไปแล้ว ฯ พวกภิกษุมาสู่วิหารแล้ว กราบทูล ความนั้น แด่พระบรมศาสดา ฯ
พระบรมศาสดาตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่าบุคคลผู้ไม่มีหิริ ผู้คะนอง เป็นผู้เช่นกับกา ตั้งอยู่ในอเนสนา (การแสวงหาอันไม่สมควร) ๒๑ อย่าง ย่อมเป็นอยู่สบาย ส่วนบุคคลผู้สมบูรณ์หิริโอตตัปปะ ย่อมเป็นอยู่ลําบาก ดังนี้แล้ว ได้ทรงภาษิตพระคาถาเหล่านี้ว่า
บุคคลผู้ไม่มีหิริ กล้าเพียงดังกา มีปกติกําจัด (คุณผู้อื่น) มักแล่นไป
(เอาหน้า) ผู้คะนอง ผู้เศร้าหมอง เป็นอยู่ง่าย ฯ ส่วนบุคคลผู้มีหิริ
มีปกติแสวงหากรรมอันสะอาดเป็นนิตย์ ไม่หดหู่ ไม่คะนอง มีอาชีวะ
หมดจด เห็นอยู่ เป็นอยู่ยาก ฯ
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อหิริเกน คือ ผู้ขาดหิริโอตตัปปะ ฯ อธิบายว่า ก็บุคคลผู้เห็นปานนั้น อาจเพื่ออันเรียกหญิงผู้มิใช่มารดานั่นแลว่า มารดาของเรา เรียกชายผู้มิใช่บิดาเป็นต้นนั่นแล โดยนัยเป็นต้นว่า บิดาของเรา ตั้งอยู่ในอเนสนา (การแสวงหาอันไม่สมควร) ๒๑ อย่าง เป็นอยู่โดยง่าย ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๕๙ (ครั้งที่ ๒)
แปล โดยพยัญชนะ
(จูฬสาริภิกฺขุ ภาค ๗ หน้า ๑๗ – ๑๘)
๑. กากสูเรนาติ สูรกากสทิเสน ฯ ยถา หิ สูรกาโก กุลฆเรสุ ยาคุอาทีนิ คณฺหิตุกาโม ภิตฺติอาทีสุ นิสีทิตฺวา อตฺตโน โอโลกนภาวํ ตฺวา อโนโลเกนฺโต วิย อญฺญาวิหิตโก วิย นิทฺทายนฺโต วิย จ หุตฺวา มนุสฺสานํ ปมาทํ สลฺลกฺเขตฺวา อนุปติตฺวา สุสูติ วทนฺเตสุ เยว ภาชนโต มุขปุรํ คเหตฺวา ปลายติ เอวเมว อหิริกปุคฺคโลปิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ คามํ ปวิสิตฺวา ยาคุภตฺตฏฺฐานาทีนิ ววฏฺฐเปติ ตตฺถ ภิกฺขู ปิณฺฑาย จริตฺวา ยาปนมตฺตํ อาทาย อาสนสาลํ คนฺตฺวา ปจฺจเวกฺขนฺตา ยาคุํ ปิวิตฺวา กมฺมฏฺฐานํ มนสิกโรนฺตา สชฺฌายนฺติ อาสนสาลํ สมฺมชฺชนฺติ อยํ ปน กิญฺจิ อกตฺวา คามาภิ มุโข ว โหติ โส ภิกฺขูหิ ปสฺสถิมนฺติ โอโลกิยมาโนปิ อโนโลเกนฺโต วิย อญฺญาวิหิโต วิย นิทฺทายนฺโต วิย คณฺฐิกํ ปฏิมุญฺจนฺโต วิย จีวรํ สํวิทหนฺโต วิย หุตฺวา อสุกํ นาม เม กมฺมํ อตฺถีติ วทนฺโต อุฏฺฐายาสนา คามํ ปวิสิตฺวา ปาโต ววฏฺฐาปิเตสุ เคเหสุ อญฺญตรํ เคหํ อุปสงฺกมิตฺวา ฆรมานุสเกสุ โถกํ กวาฏํ ปิธาย ทฺวาเร นิสีทิตฺวา กนฺตนฺเตสุปิ เอเกน หตฺเถน กวาฏํ ปณาเมตฺวา อนฺโต ปวิสติ อถ นํ ทิสฺวา อกามกาปิ อาสเน นิสีทาเปตฺวา ยาคุอาทีสุ ยํ อตฺถิ ตํ เทนฺติ โส ยาวทตฺถํ ภุญฺชิตฺวา อวเสสํ ปตฺเตน อาทาย ปกฺกมติ อยํ กากสูโร นาม เอวรูเปน อหิริเกน สุชีวนฺติ อตฺโถ ฯ
แปล โดยอรรถ
(จูฬสาริภิกฺขุ ภาค ๗ หน้า ๑๘ – ๑๙)
๒. ธํสินาติ อสุกตฺเถโร นาม อปฺปิจฺโฉติอาทีนิ วทนฺเตสุ กึ ปน มยํปิ น อปฺปิจฺฉาติอาทินา วจเนน ปเรสํ คุณธํสนตาย ธํสินา ฯ ตถารูปสฺส หิ วจนํ สุตฺวา อยํปิ อปฺปิจฺฉตาทิคุณยุตฺโตติ มญฺญมานา มนุสฺสา ทาตพฺพํ มญฺญนฺติ ฯ โส ปน ตโต ปฏฺ าย วิญฺญุปุริสานํ จิตฺตํ อาราเธตุํ อสกฺโกนฺโต ตมฺหาปิ ลาภา ปริหายติ ฯ เอวํ ธํสี ปุคฺคโล อตฺตโนปิ ปรสฺสาปิ ลาภํ นาเสติเยว ฯ ปกฺขนฺทินาติ ปกฺขนฺทจารินา ปเรสํ กิจฺจานิ อตฺตโน กิจฺจานิ วิย ทสฺเสนฺเตน ฯ ปาโต ว ภิกฺขูสุ เจติยงฺคณาทีสุ วตฺตํ กตฺวา กมฺมฏฺฐานมนสิกาเรน โถกํ นิสีทิตฺวา อุฏฺฐาย คามํ ปิณฺฑาย ปวิสนฺเตสุ มุขํ โธวิตฺวา ปณฺฑุกาสาวปารุปนอกฺขิอญฺชนสีสมกฺขนาทีหิ อตฺตภาวํ มณฺเฑตฺวา สมฺมชฺชนฺโต วิย เทฺว ตโย สมฺมชฺชนีปหาเร ทตฺวา ทฺวารโกฏฺ กาภิมุโข โหติ มนุสฺสา ปาโตว เจติยํ วนฺทิสฺสาม มาลาปูชํ กริสฺสามาติ อาคตา ตํ ทิสฺวา อยํ วิหาโร อิมํ ทหรํ นิสฺสาย ปฏิชคฺคนํ ลภติ อิมํ มา ปมชฺชิตฺถาติ วตฺวา ตสฺส ทาตพฺพํ มญฺญนฺติ ฯ เอวรูเปน ปกฺขนฺทินา สุชีวํ ฯ ปคพฺเภนาติ กายปาคพฺภิยาทีหิ สมนฺนาคเตน ฯ สงฺกิลิฏฺเฐน ชีวิตนฺติ เอวํ ชีวิตํ กปฺเปตฺวา ชีวนฺเตน หิ ปุคฺคเลน สงฺกิลิฏฺเฐน หุตฺวา ชีวิตํ นาม โหติ ฯ ตํ ทุชฺชีวิตํ ปาปชีวิตเมวาติ อตฺโถ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. อ. อรรถว่า ผู้เช่นกับด้วยกาตัวกล้า ดังนี้ แห่งบทว่า กากสูเรน ดังนี้ ฯ อ. อธิบายว่า เหมือนอย่างว่า อ. กาตัวกล้า เป็นสัตว์ใคร่เพื่ออันคาบเอา ซึ่งวัตถุ ท. มีข้าวต้มเป็นต้น ในเรือนแห่งตระกูล ท. เป็น จับแล้ว ในที่ ท. มีฝาเป็นต้น รู้แล้ว ซึ่งความเป็นคืออันแลดู ซึ่งตน เป็นราวกะว่าไม่แลดูอยู่ด้วย เป็นราวกะว่า มีใจส่งไปแล้วในที่อื่นด้วย เป็นราวกะว่าประพฤติหลับอยู่ด้วย เป็น กําหนดแล้ว ซึ่งความพลั้งเผลอ แห่งมนุษย์ ท. โผลงแล้ว, (ครั้นเมื่อมนุษย์ ท.) กล่าวอยู่ว่า สุสุ ดังนี้นั่นเทียว, คาบเอาแล้ว (ซึ่งวัตถุ) อันยังปากให้เต็ม จากภาชนะ ย่อมบินหนีไป ฉันใด แม้ อ. บุคคลผู้มีความละอายหามิได้ เข้าไปแล้ว สู่บ้าน กับ ด้วยภิกษุ ท. ย่อมกําหนด (ซึ่งที่ ท.) มีที่แห่งข้าวต้มและข้าวสวยเป็นต้น, (อ. ภิกษุ ท.) เที่ยวไปแล้ว เพื่อก้อนข้าว ในบ้านนั้น ถือเอาแล้ว ซึ่งอาหาร อันสักว่าเป็นเครื่องยังอัตภาพให้เป็นไป ไปแล้ว สู่โรงเป็นที่ฉัน พิจารณาอยู่ ดื่มแล้ว ซึ่งข้าวต้ม กระทําไว้ในใจอยู่ ซึ่งกัมมัฏฐาน ย่อมสาธยาย, ย่อมกวาด ซึ่งโรงเป็นที่ฉัน, ส่วนว่า อ. บุคคลผู้มีความละอายหามิได้ นี้ ไม่กระทําแล้ว ซึ่งกิจอะไร ๆ เป็นผู้มีหน้าเฉพาะต่อบ้านเทียว ย่อมเป็น, อ. บุคคลผู้มีความละอายหามิได้นั้น แม้ผู้อันภิกษุ ท. กล่าวว่า อ. ท่าน ท. จงดู ซึ่งบุคคลนี้ ดังนี้ แล้วจึงแลดูอยู่ เป็นราวกะว่าไม่แลดูอยู่ เป็นราวกะว่ามีใจส่งไปแล้วในที่อื่น เป็นราวกะว่าประพฤติหลับอยู่ เป็นราวกะว่ากลัดอยู่ ซึ่งลูกดุม เป็นราวกะว่าจัดแจงอยู่ ซึ่งจีวร เป็น กล่าวอยู่ว่า อ. การงาน ชื่อโน้น ของเรา มีอยู่ ดังนี้ ลุกขึ้นแล้ว จากอาสนะ เข้าไปแล้ว สู่บ้าน เข้าไปหาแล้ว ซึ่ง ในเรือน ท. อันอันตนกําหนดแล้ว ในเวลาเช้าหนา เรือน หลังใดหลังหนึ่ง, ครั้นเมื่อประชุ มแห่งมนุษย์ในเรือน ท. ปิดแล้ว ซึ่งบานประตู หน่อยหนึ่ง แม้นั่งกรออยู่ ที่ประตู ผลักแล้ว ซึ่งบานประตู ด้วยมือ ข้างหนึ่ง ย่อมเข้าไป ในภายใน, ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น มีอยู่, อ. มนุษย์ ท. แม้ผู้ไม่ปรารถนา เห็นแล้ว ซึ่งบุคคลผู้มีความละอายหามิได้นั้น ยังบุคคลผู้มีความละอายหามิได้นั้นให้นั่งแล้ว บนอาสนะ ย่อมถวาย ซึ่ง อ. ในวัตถุ ท. มีข้าวต้มเป็นต้นหนา วัตถุใด มีอยู่, วัตถุนั้น, อ. บุคคลผู้มีความละอายหามิได้นั้น บริโภคแล้ว เพียงไรแต่ความต้องการ ถือเอาแล้ว ซึ่งวัตถุ อันเหลือลง ด้วยบาตร ย่อมหลีกไป ฉันนั้นนั่นเทียว, อ. บุคคลนี้ ชื่อว่าเป็นผู้กล้าเพียงดังกา ย่อมเป็น, อ.อัน อันบุคคล ผู้มีความละอายหามิได้ ผู้มีอย่างนี้เป็นรูป เป็นอยู่ เป็นความเป็นอยู่สบาย ย่อมเป็น ดังนี้ ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. บทว่า ธํสินา ความว่า ชื่อว่าผู้มีปกติกําจัดเพราะเมื่อคนทั้งหลาย กล่าวคําเป็นต้นว่า “พระเถระชื่อโน้นเป็นผู้มีความมักน้อย” กําจัดคุณของคนเหล่าอื่นเสียด้วยคําเป็นต้นว่า “ก็แม้พวกเราไม่เป็นผู้มีความมักน้อยดอกหรือ” ฯ ก็พวกมนุษย์ฟังคําของคนเห็นปานนั้นแล้ว เมื่อสําคัญว่า “แม้ผู้นี้ก็เป็นผู้ประกอบด้วยคุณ มีความเป็นผู้มักน้อยเป็นต้น” ย่อมสําคัญของที่ตนควรให้ ฯ แต่ว่าตั้งแต่นั้นไป เขาเมื่อไม่อาจเพื่อยังจิตของบุรุษผู้รู้ทั้งหลายให้ยินดี ย่อมเสื่อมจากลาภแม้นั้น ฯ บุคคลผู้มีปกติกําจัดอย่างนี้ ย่อมยังลาภทั้งของตน ทั้งของผู้อื่นให้ฉิบหายโดยแท้ ฯ
บทว่า ปกฺขนฺทินา ความว่า ผู้มักประพฤติแล่นไป คือผู้แสดงกิจของคนเหล่าอื่นให้เป็นดุจกิจของตน ฯ เมื่อพวกภิกษุทําวัตรที่ลานพระเจดีย์เป็นต้นตั้งแต่เช้าตรู่ นั่งด้วยกระทําไว้ในใจซึ่งพระกัมมัฏฐานหน่อยหนึ่งแล้วลุกขึ้น เข้าไปบ้านเพื่อบิณฑบาต บุคคลนั้นล้างหน้าแล้วตกแต่งอัตภาพ ด้วยการห่มผ้ากาสาวะสีเหลือง หยอดนัยน์ตาและทาศีรษะเป็นต้น ให้การประหารด้วยไม้กวาด ๒ ๓ ครั้ง ทําทีเป็นกวาดอยู่ เป็นผู้มุ่งหน้าไปสู่ซุ้มประตู, พวกมนุษย์มาแต่เช้าตรู่ ด้วยคิดว่า “พวกเราจักไหว้พระเจดีย์, จักกระทําการบูชาด้วยระเบียบดอกไม้” เห็นเธอแล้วพูดกันว่า “วิหารนี้อาศัยภิกษุหนุ่มรูปนี้จึงได้การดูแลรักษา พวกท่านอย่าละเลยภิกษุหนุ่มรูปนี้นะ” ดังนี้แล้ว ย่อมสําคัญของที่ตนควรให้แก่เธอ ฯ บุคคลผู้มักแล่นไปเห็นปานนี้ เป็นอยู่ง่าย ฯ
บทว่า ปคพฺเภน ความว่า ผู้ประกอบด้วยความคะนองกายเป็นต้น ฯ
สองบทว่า สงฺกิลิฏฺเฐน ชีวิตํ ความว่า ก็บุคคลผู้เลี้ยงชีวิตเป็นอยู่อย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้เศร้าหมอง แล้วเป็นอยู่ ฯ การเป็นอยู่นั้น ชื่อว่าเป็นอยู่ชั่ว คือเป็นอยู่ลามกนั่นแล ฯ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๕๘
แปล โดยพยัญชนะ
(ปญฺจคฺคทายกพฺราหฺมณ ภาค ๘ หน้า ๖๓ – ๖๕)
๑. สา (พฺราหฺมณี ) เอวมยํ สมณํ โคตมํ น ปสฺสิสฺสตีติ สตฺถุ ปิฏฺฐึ ทตฺวา ตสฺส ปจฺฉโต ตํ ปฏิจฺฉาเทนฺตี โอนมิตฺวา ปุณฺณจนฺทํ ปาณินา ปฏิจฺฉาเทนฺตี วิย อฏฺฐาสิ ฯ ตถา ฐิตาเอว คโต นุ โข โนติ สตฺถารํ อฑฺฒกฺขิเกน โอโลเกสิ ฯ สตฺถา ตตฺเถว อฏฺฐาสิ ฯ พฺราหฺมณสฺส ปน สวนภเยน อติจฺฉถาติ น วเทติ โอสกฺกิตฺวา ปน สณิกเมว อติจฺฉถาติ อาห ฯ สตฺถา น คมิสฺสามีติ สีสํ จาเลสิ ฯ โลกครุนา พุทฺเธน น คมิสฺสามีติ สีเส จาลิเต สา สนฺธาเรตุํ อสกฺโกนฺตี มหาหสิตํ หสิ ฯ ตสฺมึ ขเณ สตฺถา เคหาภิมุขํ โอภาสํ มุญฺจิ ฯ พฺราหฺมโณปิ ปิฏฺฐึ ทตฺวา นิสินฺโนเยว พฺราหฺมณิยา หสิตสทฺทํ สุตฺวา ฉพฺพณฺณานญฺจ รํสีนํ โอภาสํ โอโลเกตฺวา สตฺถารํ อทฺทส ฯ พุทฺธา หิ นาม คาเม วา อรญฺเ วา เหตุสมฺปนฺนานํ อตฺตานํ อทสฺเสตฺวา น ปกฺกมนฺติ ฯ พฺราหฺมโณปิ สตฺถารํ ทิสฺวา โภติ นาสิโตมฺหิ ตยา ราชปุตฺตํ อาคนฺตฺวา ทฺวาเร ฐิตํ มยฺหํ อนาจิกฺขนฺติยา ภาริยนฺเต กมฺมํ กตนฺติ วตฺวา อฑฺฒภุตฺตโภชนปาฏึ อาทาย สตฺถุ สนฺติกํ คนฺตฺวา โภ โคตม อหํ ปญฺจสุฐาเนสุ อคฺคํ ทตฺวา ภุญฺชามิ อิโต จ เม มชฺเฌ ภินฺทิตฺวา เอโก ว ภตฺตโกฏฺฐาโส ภุตฺโต เอโก ภตฺตโกฏฺฐาโส อวสิฏฺโฐ ปฏิคฺคณฺหาตุ เม อิทํ ภตฺตนฺติ ฯ สตฺถา น เม ตว อุจฺฉิฏฺฐภตฺเตน อตฺโถติ อวตฺวา พราหฺมณ อคฺคํปิ มยฺหเมว อนุจฺฉิวกํ มชฺเฌ ภินฺทิตฺวา ภุตฺตภตฺตํปิ จริมกภตฺตปิณฺโฑปิ มยฺหเมว อนุจฺฉวิโก มยํ หิ พฺราหฺมณ ปรทตฺตูปชีวิโน เปตสทิสาติ วตฺวา อิมํ คาถมาห
ยทคฺคโต มชฺฌโต เสสโต วา
ปิณฺฑํ ลเภถ ปรทตฺตูปชีวี ฯ
นาลํ ถุตุํ นาปิ นิปจฺจขาที
ตํ วาปิ ธีรา มุนิ เวทยนฺตีติ ฯ
แปล โดยอรรถ
(ปญฺจคฺคทายกพฺราหฺมณ ภาค ๘ หน้า ๖๕)
๒. พฺราหฺมโณ ตํ สุตฺวา ว ปสนฺนจิตฺโต หุตฺวา อโห อจฺฉริยํ ทีปสามิโก นาม ราชปุตฺโต น เม ตว อุจฺฉิฏฺฐภตฺเตน อตฺโถติ อวตฺวา เอวํ วกฺขตีติ ทฺวาเร ฐิตโก ว สตฺถารํ ปญฺหํ ปุจฺฉิ โภ โคตม ตุมฺเห อตฺตโน สาวเก ภิกฺขูติ วทถ กิตฺตาวตา ภิกฺขุ นาม โหตีติ ฯ สตฺถา กถํรูปา นุ โข อิมสฺส ธมฺมเทสนา สปฺปายาติ อุปธาเรนฺโต อิเม เทฺวปิ ชนา กสฺสปพุทฺธกาเล นามรูปนฺติ วทนฺตานํ กถํ สุณึสุ นามรูปํ อวิสฺสชฺชิตฺวา ว เนสํ ธมฺมํ เทเสตุํ วฏฺฏตีติ พฺราหฺมณ นามรูเป อรชฺชนฺโต อสชฺชนฺโต ภิกฺขุ นาม โหตีติ วตฺวา อิมํ คาถมาห
สพฺพโส นามรูปสฺมึ ยสฺส นตฺถิ มมายิตํ
อสตา จ น โสจติ ส เว ภิกฺขูติ วุจฺจตีติ ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. อ.นางพราหมณี นั้น คิดแล้วว่า อ. พราหมณ์ นี้ จักไม่เห็น ซึ่งพระสมณะ ผู้โคดม อย่างนี้ ดังนี้ ให้แล้ว ซึ่งหลัง แก่พระศาสดา บังอยู่ ซึ่งพระศาสดา พระองค์นั้น ข้างหลัง ของพราหมณ์ นั้น ก้มลงแล้ว ผู้ราวกะว่า บังอยู่ ซึ่งพระจันทร์อันเต็มดวงแล้ว ด้วยฝ่ามือ ได้ยืนอยู่แล้ว ฯ อ. นางพราหมณี ผู้ยืนอยู่แล้ว อย่างนั้นนั่นเทียว แลดูแล้ว ซึ่งพระศาสดา ด้วยนัยน์ตาด้วยทั้งกึ่ง ด้วยอันคิดว่า อ. พระศาสดา เสด็จไปแล้ว หรือ หนอ แล หรือว่า อ. พระศาสดา ไม่เสด็จไปแล้ว ดังนี้ ฯ อ. พระศาสดา ได้ประทับยืนอยู่แล้ว ในที่นั้นนั่นเทียว ฯ ก็ อ. นางพราหมณี ย่อมไม่กล่าวว่า อ. พระองค์ ขอจงทรงปรารถนาล่วง ดังนี้ เพราะความกลัวแต่อันได้ยิน แห่งพราหมณ์, แต่ว่า อ. นางพราหมณีนั้น ถอยไปแล้ว กล่าวแล้วว่า อ. พระองค์ ขอจงทรงปรารถนาล่วง ดังนี้ ค่อย ๆ นั่นเทียว ฯ อ. พระศาสดา ทรงยังพระเศียร ให้ไหวแล้ว มีอันให้รู้ว่า อ. เรา จักไม่ไป ดังนี้เป็นเหตุ ฯ ครั้นเมื่อพระเศียร อันพระพุทธเจ้า ผู้เป็นครูของโลก ทรงให้ไหวแล้ว มีอันให้รู้ว่า อ. เรา จักไม่ไป ดังนี้เป็นเหตุ, อ. นางพราหมณี นั้น ไม่อาจอยู่ เพื่ออันอดกลั้น หัวเราะแล้ว หัวเราะใหญ่ ฯ ในขณะนั้น อ. พระศาสดา ทรงเปล่งแล้ว ซึ่งพระรัศมี อันมีหน้าเฉพาะต่อเรือน ฯ แม้ อ. พราหมณ์ นั่งให้แล้ว ซึ่งหลังนั่นเทียว ได้ยินแล้ว ซึ่งเสียงการหัวเราะ แห่งนางพราหมณีด้วย แลดูแล้ว ซึ่งแสงสว่าง แห่งพระรัศมี ท. อันมีวรรณะหกด้วย ได้เห็นแล้ว ซึ่งพระศาสดา ฯ จริงอยู่ ชื่อ อ. พระพุทธเจ้า ท. ไม่ทรงแสดงแล้ว ซึ่งพระองค์ แก่ชน ท. ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยเหตุ ในบ้าน หรือ หรือว่า ในป่า จักไม่เสด็จหลีกไปฯ แม้ อ. พราหมณ์ เห็นแล้ว ซึ่งพระศาสดา กล่าวแล้วว่า ดูก่อนนางผู้เจริญ อ. เรา เป็นผู้อันเธอ ผู้ไม่บอกอยู่ ซึ่งพระราชบุตร ผู้เสด็จมา แล้วจึงประทับยืนอยู่แล้ว ที่ประตู แก่เรา ให้ฉิบหายแล้ว ย่อมเป็น, อ. กรรม อันหนัก อันเธอ กระทําแล้ว ดังนี้ ถือเอาแล้ว ซึ่งถาดแห่งโภชนะอันตนบริโภคแล้วด้วยทั้งกึ่ง ไปแล้ว สู่สํานัก ของพระศาสดา กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระโคดม ผู้เจริญ อ. ข้าพระองค์ ถวายแล้ว ซึ่งทานอันเลิศ ในฐานะ ท. ห้า ย่อมบริโภค แต่ว่า อ. ส่วนแห่งภัต ส่วนหนึ่งเทียว อันข้าพระองค์ แบ่งแล้ว ในท่ามกลาง แต่ส่วนนี้ บริโภคแล้ว, อ. ส่วนแห่งภัต ส่วนหนึ่ง เหลือลงแล้ว, อ. พระโคดม ขอจงทรงรับเฉพาะ ซึ่งภัต นี้ ของข้าพระองค์ ดังนี้ ฯ อ. พระศาสดา ไม่ตรัสแล้วว่ า อ. ความต้องการ ด้วยภัตอันเป็นเดน ของท่าน มีอยู่ แก่เรา หามิได้ ดังนี้ ตรัสแล้วว่า ดูก่อนพราหมณ์ แม้ อ. ภัตอันเลิศ เป็นของสมควร แก่เรานั่นเทียว ย่อมเป็น, แม้ อ. ภัต อันท่าน แบ่งในท่ามกลาง แล้วจึงบริโภคแล้ว เป็นของสมควร แก่เรานั่นเทียว ย่อมเป็น, แม้ อ.ก้อนแห่งภัต อันมีในภายหลัง เป็นของสมควร แก่เรานั่นเทียว ย่อมเป็น, ดูก่อนพราหมณ์ เพราะว่า อ. เรา ท. เป็นผู้เข้าไปอาศัยซึ่งภัตอันบุคคลอื่นให้แล้วเป็นอยู่โดยปกติ เป็นผู้เช่นกับด้วยเปรต ย่อมเป็น ดังนี้ ตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถา นี้ว่า
อ. ภิกษุ ผู้เข้าไปอาศัยซึ่งภัตอันบุคคลอื่นให้แล้วเป็นอยู่ โดยปกติ พึง
ได้ ซึ่งก้อนข้าวใด จากส่วนอันเลิศหรือ หรือว่า จากส่วนท่ามกลาง
หรือว่า จากส่วนอันเหลือ ฯ อ. ภิกษุนั้น เป็นผู้ไม่ควร เพื่ออันชื่นชม
ซึ่งก้อนข้าวนั้น ย่อมเป็น, เป็นผู้แม้ไม่ควร เพื่ออันเป็นผู้มีอันติเตียน
แล้วฉัน ซึ่งก้อนข้าวนั้น เป็นปกติ เป็น ย่อมเป็น, อ. นักปราชญ์ ท.
ย่อมประกาศ ซึ่งภิกษุแม้นั้นเทียว ว่าเป็นมุนี ดังนี้ ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. พราหมณ์พอได้ฟังพระคาถานั้นแล้ว ก็เป็นผู้มีจิตเลื่อมใส คิดว่า โอ น่าอัศจรรย์จริง พระราชบุตร ชื่อว่าผู้เป็นเจ้าแห่งดวงประทีป มิได้ตรัสว่า เราไม่มีความต้องการด้วยภัตอันเป็นเดนของท่าน กลับตรัส อย่างนั้น ดังนี้แล้ว ยืนอยู่ที่ประตูนั่นเอง ทูลถามปัญหากะพระบรมศาสดาว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ พระองค์ตรัสเรียกเหล่าสาวกของพระองค์ว่า “ภิกษุ”, ด้วยเหตุเพียงไร บุคคล จึงชื่อว่าเป็นภิกษุ ฯ พระบรมศาสดา ทรงใคร่ครวญอยู่ว่า พระธรรมเทศนาเช่นไรหนอแล จะเป็นสัปปายะแก่พราหมณ์นี้ ทรงดําริว่า ชนแม้ทั้งสองนี้ ฟังถ้อยคําของพวกภิกษุผู้กล่าวอยู่ว่า นามรูป ในกาลแห่งพระกัสสปพุทธเจ้า, การที่เราไม่ละนามรูปนั่นแลแล้ว แสดงธรรมแก่พวกเขา ย่อมควร จึงตรัสว่า พราหมณ์ ผู้ไม่กําหนัด ไม่ข้องอยู่ในนามรูป ชื่อว่า เป็นภิกษุ ดังนี้ แล้วตรัสพระคาถานี้ว่า
ผู้ใดไม่มีความยึดถือในนามรูปว่าเป็นของเรา โดยประการทั้งปวง อนึ่ง
ผู้ใดไม่เศร้าโศกเพราะนามรูปนั้น อันไม่มีอยู่ ผู้นั้นแล เราเรียกว่าภิกษุ
ประโยค ป.ธ.๓
ปัญหาและเฉลย วิชา แปลมคธเป็นไทย
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๕๘ (ครั้งที่ ๒)
แปล โดยพยัญชนะ
(วิพฺภนฺตก ภาค ๘ หน้า ๑๔ – ๑๕)
๑. เถโร ปิณฺฑาย จริตุํ ปวิสนฺโต ตํ ทกฺขิณทฺวาเรน นีหริยมานํ ทิสฺวา พนฺธนํ สิถิลํ กาเรตฺวา ปุพฺเพ ตยา ปริจิตํ กมฺมฏฺฐานํ ปุน อาวชฺเชหีติ อาห ฯ โส เตน โอวาเทน สตุปฺปาทํ ลภิตฺวา ปุน จตุตฺถชฺฌานํ นิพฺพตฺเตสิ ฯ อถ นํ อาฆาตนํ เนตฺวา ฆาเตสฺสามาติ สูเล อุตฺตาเสสุํ ฯ โส น ภายติ น สนฺตสติ ฯ อถสฺส ตสฺมึ ตสฺมึ ทิสาภาเค ฐิตา มนุสฺสา อสิสตฺติโตมราทีนิ อาวุธานิ อุกฺขิปิตฺวาปิ ตํ อสนฺตสนฺตเมว ทิสฺวา ปสฺสถ โภนฺโต อิมํ ปุริสํ อเนกสตานํปิ อาวุธหตฺถานํ ปุริสานํ มชฺเฌ เนวจฺฉมฺภติ น เวธติ อโห อจฺฉริยนฺติ อจฺฉริยพฺภูตชาตา มหานาทํ นทิตฺวา รญฺโญ ตํ ปวตฺตึ อาโรเจสุํ ฯ ราชา ตํ การณํ สุตฺวา วิสฺสชฺเชถ นนฺติ วตฺวา สตฺถุ สนฺติกํปิ คนฺตฺวา ตมตฺถํ อาโรเจสิ ฯ สตฺถา โอภาสํ ผริตฺวา ตสฺส ธมฺมํ เทเสนฺโต อิมํ คาถมาห
โย นิพฺพนฏฺโฐ วนาธิมุตฺโต
วนมุตฺโต วนเมว ธาวติ
ตํ ปุคฺคลเมว ปสฺสถ
มุตฺโต พนฺธนเมว ธาวตีติ ฯ
ตสฺสตฺโถ โย ปุคฺคโล คิหิภาเว อาลยสงฺขาตํ วนฏฺฐํ ฉฑฺเฑตฺวา ปพฺพชิตตาย นิพฺพนฏฺโฐ วิหารสงฺขาเต ตโปวเน อธิมุตฺโต ฆราวาสพนฺธนสงฺขาตา ตณฺหาวนา มุตฺโต หุตฺวา ปุน ตํ ฆราวาสพนฺธนํ ตณฺหาวนเมว ธาวติ เอวนฺตํ ปุคฺคลํ ปสฺสถ เอโส ฆราวาสพนฺธนโต มุตฺโต ปุน ฆราวาสพนฺธนเมว ธาวตีติ ฯ
แปล โดยอรรถ
(พนฺธนาคาร ภาค ๘ หน้า ๑๖ – ๑๗)
๒. เอกสฺมึ กิร กาเล พหู สนฺธิจฺเฉทกปนฺถฆาตกมนุสฺสฆาตเก โจเร อาเนตฺวา โกสลรญฺโญ ทสฺเสสุํ ฯ เต ราชา อนฺทุพนฺธนรชฺชุพนฺธนสงฺขลิกพนฺธเนหิ พนฺธาเปสิ ฯ ตึสมตฺตาปิ โข ชานปทา ภิกฺขู สตฺถารํ ทฏฺฐุกามา อาคนฺตฺวา ทิสฺวา วนฺทิตฺวา ปุนทิวเส สาวตฺถิยํ ปิณฺฑาย จรนฺตา พนฺธนาคารํ คนฺตฺวา เต โจเร ทิสฺวา ปิณฺฑปาตปฺปฏิกฺกนฺตา สายณฺหสมเย ตถาคตํ อุปสงฺกมิตฺวา ภนฺเต อชฺช อมฺเหหิ ปิณฺฑาย จรนฺเตหิ พนฺธนาคาเร พหู โจรา อนฺทุพนฺธนาทีหิ พทฺธา มหาทุกฺขํ อนุภวนฺตา ทิฏฺฐา เต ตานิ พนฺธนานิ ฉินฺทิตฺวา ปลายิตุํ น สกฺโกนฺติ อตฺถิ นุ โข ภนฺเต เตหิ พนฺธเนหิ ถิรตรํ อญฺํ พนฺธนํ นามาติ ปุจฺฉึสุ ฯ สตฺถา ภิกฺขเว กึพนฺธนานิ นาเมตานิ ยํ ปเนตํ ธนธญฺ ปุตฺตทาราทีสุ ตณฺหาสงฺขาตํ กิเลสพนฺธนํ เอตํ เอเตหิ สตคุเณน สหสฺสคุเณน สตสหสฺสคุเณน ถิรตรํ เอวํ มหนฺตํปิ ปเนตํ ทุจฺฉินฺทิยํ พนฺธนํ โปราณกปณฺฑิตา ฉินฺทิตฺวา หิมวนฺตํ ปวิสิตฺวา ปพฺพชึสูติ อาห ฯ
เฉลย ประโยค ป.ธ. ๓
แปล โดยพยัญชนะ
๑. อ. พระเถระ เข้าไปอยู่ เพื่ออันเที่ยวไป เพื่อก้อนข้าว เห็นแล้ว ซึ่งบุรุษนั้น ผู้อันราชบุรุษ ท. นําออกไปอยู่ โดยประตูอันตั้งอยู่แล้วในทิศทักษิณ ยังราชบุรุษ ให้กระทําแล้ว ซึ่งเครื่องจองจํา ให้เป็นของหย่อน กล่าวแล้วว่า อ. เธอ จงนึกถึง ซึ่งกัมมัฏฐาน อันอันเธอสั่งสมรอบแล้ว ในกาลก่อน อีก ดังนี้ ฯ อ. บุรุษนั้น ได้แล้ว ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งสติ เพราะโอวาท นั้น ยังจตุตถฌาน ให้บังเกิดแล้ว อีก ฯ ครั้งนั้น อ. ราชบุรุษ ท. นําไปแล้ว ซึ่งบุรุษนั้น สู่ที่เป็นที่นํามาฆ่า คิดแล้วว่า อ. เรา ท. จักฆ่า ดังนี้ ยังบุรุษนั้น ให้นอนหงายแล้ว บนหลาว ฯ อ. บุรุษนั้น ย่อมไม่กลัว ย่อมไม่สะดุ้ง ฯ ครั้งนั้น อ. มนุษย์ ท. ผู้ยืนอยู่แล้ว ในส่วนแห่งทิศ นั้นนั้น แม้ยกขึ้นแล้ว ซึ่งอาวุธ ท. มีดาบและหอกและโตมรเป็นต้น แก่บุรุษนั้น เห็นแล้ว ซึ่งบุรุษนั้น ผู้ไม่สะดุ้งอยู่นั่นเทียว กล่าวแล้วว่า ดูก่อนท่านผู้เจริญ ท. อ. ท่าน ท. จงดู ซึ่งบุรุษนี้ อ. บุรุษนี้ ย่อมไม่หวั่นไหว นั่นเทียว ย่อมไม่สั่น ในท่ามกลาง แห่งบุรุษ ท. ผู้มีอาวุธในมือ แม้ผู้มีร้อยมิใช่หนึ่ง โอ อ. เหตุน่าอัศจรรย์ ดังนี้ ผู้มีความอัศจรรย์ทั้งเป็นแล้วทั้งเกิดแล้ว บันลือแล้ว บันลือใหญ่ กราบทูลแล้ว ซึ่งเรื่องอันเป็นไปทั่ว นั้น แก่พระราชา ฯ อ. พระราชา ทรงสดับแล้ว ซึ่งเหตุ นั้น ตรัสแล้วว่า อ. ท่าน ท. จงปล่อย ซึ่งบุรุษนั้น ดังนี้ เสด็จไปแล้ว แม้สู่สํานัก ของพระศาสดา กราบทูลแล้ว ซึ่งเนื้อความ นั้น ฯ อ. พระศาสดา ทรงแผ่ไปแล้ว ซึ่งพระรัศมี เมื่อทรงแสดง ซึ่งธรรม แก่บุรุษนั้น ตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถา นี้ว่า
อ. บุคคลใด เป็นผู้มีกิเลสเพียงดังหมู่ไม้อันตั้งอยู่ในป่าออกแล้ว เป็นผู้
น้อมไปแล้วในป่า เป็นผู้พ้นแล้วจากป่า เป็น ย่อมแล่นไป สู่ป่านั่นเทียว
อ. ท่าน ท. จงดู ซึ่งบุคคล นั้น นั่นเทียว อ. บุคคลนั่น พ้นแล้ว
(จากเครื่องผูก) ย่อมแล่นไป สู่เครื่องผูกนั่นเทียว ดังนี้ ฯ
อ. เนื้อความว่า อ. บุคคล ใด ชื่อว่าเป็นผู้มีกิเลสเพียงดังหมู่ไม้อันตั้งอยู่ในป่าออกแล้ว เพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ทิ้ง ซึ่งกิเลสเพียงดังหมู่ไม้อันตั้งอยู่ในป่า อันอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าความอาลัย ในความเป็นแห่งคฤหัสถ์ แล้วจึงบวชแล้ว เป็นผู้น้อมไปแล้ว ในป่าคือตบะ อันอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่า ธรรมเป็นเครื่องอยู่ เป็นผู้พ้นแล้ว จากป่าคือตัณหา อันอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าเครื่องผูกคือการอยู่ครองซึ่งเรือน เป็น ย่อมแล่นไป สู่ป่าคือตัณหา อันเป็นเครื่องผูกคือการอยู่ครองซึ่งเรือน นั้น อีก นั่นเทียว อ. ท่าน ท. จงดู ซึ่งบุคคล นั้น อย่างนี้ อ. บุคคลนั่น พ้นแล้ว จากเครื่องผูกคือการอยู่ครองซึ่งเรือน ย่อมแล่นไป สู่เครื่องผูกคือการอยู่ครองซึ่งเรือน อีก นั่นเทียว ดังนี้ แห่งคําอันเป็นพระคาถานั้น อันบัณฑิต พึงทราบ ฯ
แปล โดยอรรถ
๒. ดังได้สดับมา ในกาลครั้งหนึ่ง พวกราชบุรุษนําพวกโจรผู้ตัดช่อง ปล้นคนเดินทางและฆ่ามนุษย์จํานวนมากมา ทูลแสดงแก่พระเจ้าโกศลแล้ว ฯ พระราชารับสั่งให้จองจําโจรเหล่านั้นไว้ด้วยเครื่องจองจําคือขื่อ เครื่องจองจําคือเชือกและเครื่องจองจําคือตรวนทั้งหลาย ฯ พวกภิกษุชาวชนบท แม้ประมาณ ๓๐ รูปแล ประสงค์จะเฝ้าพระบรมศาสดา ก็พากันมาเฝ้าถวายบังคมแล้ว ในวันรุ่งขึ้น จึงเที่ยวบิณฑบาตในกรุงสาวัตถี ไปถึงเรือนจําเห็นโจรเหล่านั้น กลับจากบิณฑบาตแล้ว เข้าไปเฝ้าพระตถาคตเจ้าในเวลาเย็นทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ วันนี้ เมื่อพวกข้าพระองค์กําลังเที่ยวบิณฑบาต ได้พบโจรจํานวนมากในเรือนจํา ซึ่งถูกจองจํา ด้วยเครื่องจองจําคือขื่อเป็นต้น เสวยทุกข์มาก พวกเขาย่อมไม่สามารถเพื่อจะตัดเครื่องจองจําเหล่านั้นหนีไปได้ ขึ้นชื่อว่าเครื่องจองจําชนิดอื่น ที่มั่นคงกว่าเครื่องจองจําเหล่านั้น มีอยู่หรือหนอแล พระเจ้าข้า ฯ พระบรมศาสดาตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย เครื่องจองจําเหล่านั่น จะชื่อว่าเครื่องจองจําอะไร ส่วนเครื่องจองจําคือกิเลส กล่าวคือตัณหา ในทรัพย์ ข้าวเปลือก บุตรและภรรยาเป็นต้นนั่น เป็นเครื่องจองจําที่มั่นคงกว่าเครื่องจองจําคือขื่อเป็นต้นเหล่านั้นร้อยเท่า พันเท่า แสนเท่า แต่โบราณกบัณฑิตทั้งหลาย ตัดเครื่องจองจําที่ตัดได้ยากนั่น แม้ใหญ่อย่างนี้แล้ว เข้าไปยังป่าหิมพานต์ บวชแล้ว ฯ