![](https://dhamma.lcbp.co.th/wp-content/uploads/2024/10/สนามหลวงแผนกธรรม.png)
ธรรมศึกษา ชั้นโท
ปัญหา วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม
ระดับประถมศึกษา
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๖
![](https://dhamma.lcbp.co.th/wp-content/uploads/2024/10/boder-line.png)
อสนฺเต นูปเสเวยฺย สนฺเต เสเวยฺย ปณฺฑิโต
อสนฺโต นิรยํ เนนฺติ สนฺโต ปาเปนฺติ สุคตึ.
บัณฑิตไม่พึงคบอสัตบุรุษ พึงคบสัตบุรุษ
เพราะอสัตบุรุษย่อมนำไปสู่นรก สัตบุรุษย่อมให้ถึงสุคติ.
คัมภีร์ที่มา : ขุทฺทกนิกาย วีสตินิบาต
แต่งอธิบายให้สมเหตุสมผล โดยใช้สุภาษิตที่สนามหลวงแผนกธรรมกำหนดมาให้ จำนวน ๕ สุภาษิตข้างล่างนี้ มาประกอบอ้างอิงเพียง ๒ สุภาษิต และสุภาษิตที่อ้างมานั้น ควรอธิบายเชื่อมความให้สมกับเรื่องในกระทู้ตั้ง
ในชั้นนี้ กำหนดให้เขียนลงในกระดาษใบตอบตั้งแต่ ๓ หน้า (เว้นบรรทัด) ขึ้นไป
——————-
ให้เวลา ๓ ชั่วโมง
สีลเมวิธ สิกฺเขถ อสฺมึ โลเก สุสิกฺขิตํ
สีลํ หิ สพฺพสมฺปตฺตึ อุปนาเมติ เสวิตํ.
พึงศึกษาศีลในโลกนี้ เพราะศีลที่ศึกษาดีแล้ว
เสพแล้วในโลกนี้ย่อมน้อมนำมาซึ่งสมบัติทั้งปวง.
คัมภีร์ที่มา : ขุททกนิกาย เถรคาถา
อิเธว กิตฺตึ ลภติ เปจฺจ สคฺเค จ สุมโน
สพฺพตฺถ สุมโน ธีโร สีเลสุ สุสมาหิโต.
ผู้มีปรีชา มั่นคงดีแล้วในศีล ย่อมได้รับชื่อเสียงในโลกนี้
ละไปแล้ว ชื่อว่าย่อมดีใจในที่ทั้งปวง.
คัมภีร์ที่มา : ขุททกนิกาย เถรคาถา
เอโกปิ สทฺโธ เมธาวี อสุสทฺธานํ จ ญาตินํ
ธมฺมฏฺโฐ สีลสมฺปนฺโน โหติ อตฺถาย พนฺธุนํ.
ผู้มีศรัทธา มีปัญญา ตั้งในธรรมถึงพร้อมด้วยศีล แม้คนเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์แก่ญาติและพวกพ้องผู้
คัมภีร์ที่มา : ขุททกนิกาย เถรคาถา
อโมฆํ ทิวสํ กยิรา อปเปน พหุเกน วา
ยํ ยํ วิวหเต รตฺติ ตทูนนฺตสฺส ชีวิตํ.
ควรทำวันคืนไม่ให้เปล่าจากประโยชน์น้อยหรือมาก
เพราะวันคืนผ่านบุคคลใดไป ชีวิตของบุคคลนั้น
ย่อมพร่องจากประโยชน์นั้น.
คัมภีร์ที่มา : ขุททกนิกาย เถรคาถา
ยญฺหิ กยิรา ตญฺหิ วเท ยํ น กยิรา น ตํ วเท
อกโรนฺตํ ภาสมานํ ปริชานนฺติ ปณฺฑิตา.
บุคคลทำสิ่งใด ควรพูดสิ่งนั้น ไม่ทำสิ่งใด
ไม่ควรพูดสิ่งนั้น บัณฑิตย่อมกำหนดรู้คนที่ไม่ทำ ได้แต่พูด.
คัมภีร์ที่มา : ขุททกนิกาย เถรคาถา
![](https://dhamma.lcbp.co.th/wp-content/uploads/2024/10/สนามหลวงแผนกธรรม.png)
ธรรมศึกษา ชั้นโท
ปัญหาและเฉลย วิชา ธรรม
ระดับประถมศึกษา
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๖
![](https://dhamma.lcbp.co.th/wp-content/uploads/2024/10/boder-line.png)
๑. วิธีการทำบุญในพระพุทธศาสนา เรียกว่าอะไร?
ก. ทานมัย
ข. สีลมัย
ค. ภาวนามัย
ง. บุญกิริยาวัตถุ
๒. บุญ หมายถึงอะไร ?
ก. ความดี
ข. ความสุข
ค. ความเจริญ
ง. ถูกทุกข้อ
๓. ทำบุญสร้างโรงพยาบาล จัดเป็นบุญกิริยาวัตถุใด ?
ก. ทานมัย
ข. สีลมัย
ค. ภาวนามัย
ง. ปัตติทานมัย
๔. ไม่ฆ่าสัตว์ มีเมตตากรุณา จัดเป็นบุญกิริยาวัตถุใด ?
ก. ทานมัย
ข. สีลมัย
ค. ภาวนามัย
ง. ปัตติทานมัย
๕. วิธีทำบุญที่มีอานิสงส์มากที่สุด คือข้อใด ?
ก. ทานมัย
ข. สีลมัย
ค. ภาวนามัย
ง. ปัตติทานมัย
๖. วุฑฒิ แปลว่าอะไร ?
ก. ความเจริญรุ่งเร่อง
ข. เจริญวัย
ค. เจริญยศ
ง. เจริญทรัพย์
๗. คบสัตบุรุษ หมายถึงการกระทำเช่นไร ?
ก. สนทนา
ข. ปรึกษาหารือ
ค. ฟังคำสั่งสอน
ง. ถูกทุกข้อ
๘. สัทธััมมัสสวนะ จะเกิดความเจริญรุ่งเรืองแก่ผูู้ฟังได้ด้วยวิธีใด?
ก. รับฟัง
ข. จดจำเนื้อหา
ค. ยอมรับนับถือ
ง. ลงมือปฏิบัติ
๙. โยนิโสมนสิการ เป็นบ่อเกิดแห่งมรรคใด ?
ก. สัมมาทิฏฐิ
ข. สัมมาวาจา
ค. สัมมาอาชีวะ
ง. สัมมาวายามะ
๑๐. โยนิโสมนสิการ หมายถึงความคิดใด ?
ก. คิดถูกวิธี
ข. คิดมีระบบ
ค. คิดไตร่ตรอง
ง. ถูกทุกข้อ
๑๑. ข้อใด เป็นความหมายของธััมมานุธััมมปฏิปัตติ ?
ก. คบคนดี
ข. ฟังธรรม
ค. คิดไตร่ตรอง
ง. ลงมือปฏิบัติ
๑๒. ธรรมที่เป็นเสมือนล้อรถนำไปสู่จุดหมาย เรียกว่าอะไร ?
ก. วุฑฒิ ๔
ข. จักร ๔
ค. ปธาน ๔
ง. อธิษฐาน ๔
๑๓. ประเทศเช่นไร เรียกว่าปฏิรูปเทสวาสะ ?
ก. มีความเจริญ
ข. มีคนดีมาก
ค. มีเศรษฐกิจดี
ง. ถูกทุกข้อ
๑๔. อาคารรัฐสภา สัปปายะสภาสถาน มีความหมายตรงกับสัปปายะใด ?
ก. อาวาส
ข. บุคคล
ค. อาหาร
ง. ธรรม
๑๕. คำว่า สัปปุริสูปัสสยะ แปลว่าอะไร ?
ก. คบสัตบุรุษ
ข. คบเพื่อน
ค. คบค้าสมาคม
ง. คบมิตรประเทศ
๑๖. คำว่า อัตตสัมมาปณิธิ แปลว่าอะไร ?
ก. ตั้งใจ
ข. ตั้งมั่น
ค. ตั้งตัว
ง. ตั้งตนไว้ชอบ
๑๗. อัตตสัมมาปณิธิ หมายถึงข้อใด ?
ก. วางตัวได้เหมาะสม
ข. ประพฤติดี
ค. มีการศึกษา
ง. ถูกทุกข้อ
๑๘. ปุพเพกตปุญญตา แปลสั้น ๆ ว่าอย่างไร ?
ก. มีบุญเก่า
ข. มีบุญมาก
ค. มีบุญน้อย
ง. มีบุญแต่กรรมบัง
๑๙. จักร ๔ ข้อใด สำคัญที่สุด ?
ก. อยู่ถิ่นดี
ข. คบคนดี
ค. ตั้งตนไว้ดี
ง. ทำบุญมาดี
๒๐. ผูู้ใหญ่วางตนอย่างไร จึงจะเป็นที่ยกย่องของผูู้น้อย ?
ก. เว้นอคติ
ข. เว้นอรติ
ค. เว้นมติ
ง. เว้นคติ
๒๑. ลำเอียงเพราะรัก เรียกว่าอะไร ?
ก. ฉันทาคติ
ข. โทสาคติ
ค. โมหาคติ
ง. ภยาคติ
๒๒. ลำเอียงเพราะไม่ชอบ เรียกว่าอะไร ?
ก. ฉัันทาคติ
ข. โทสาคติ
ค. โมหาคติ
ง. ภยาคติ
๒๓. ลำเอียงเพราะโง่เขลา เรียกว่าอะไร ?
ก. ฉัันทาคติ
ข. โทสาคติ
ค. โมหาคติ
ง. ภยาคติ
๒๔. ลำเอียงเพราะกลัว เรียกว่าอะไร ?
ก. ฉัันทาคติ
ข. โทสาคติ
ค. โมหาคติ
ง. ภยาคติ
๒๕. พ่อแม่ไม่ลงโทษบุตรธิดาที่ทำผิด เรียกว่ามีอคติใด ?
ก. ฉันทาคติ
ข. โทสาคติ
ค. โมหาคติ
ง. ภยาคติ
๒๖. ความอยุติธรรมที่เกิดจากไม่รู้ข้อมูลที่แท้จริง ตรงกับข้อใด ?
ก. ฉัันทาคติ
ข. โทสาคติ
ค. โมหาคติ
ง. ภยาคติ
๒๗. ผูู้ที่ตกอยู่ในอำนาจของอคติ จะมีพฤติกรรมเช่นใด ?
ก. เห็นแก่ตัว
ข. ไม่ยุติธรรม
ค. ตระหนี่
ง. โกรธง่าย
๒๘. ธรรมหมวดใด หมายถึงความเพียร ?
ก. วุฑฒิ ๔
ข. จักร ๔
ค. ปธาน ๔
ง. อิทธิบาท ๔
๒๙. เพียรระวังบาป เป็นคำแปลของปธานใด ?
ก. สังวรปธาน
ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน
ง. อนุรักขนาปธาน
๓๐. เพียรละบาป เป็นคำแปลของปธานใด ?
ก. สังวรปธาน
ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน
ง. อนุรักขนาปธาน
๓๑. เพียรสร้างกุศล เป็นคำแปลของปธานใด ?
ก. สังวรปธาน
ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน
ง. อนุรักขนาปธาน
๓๒. เพียรรักษากุศล เป็นคำแปลของปธานใด ?
ก. สังวรปธาน
ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน
ง. อนุรักขนาปธาน
๓๓. ละชั่วกลัวบาป เป็นความหมายของปธานใด ?
ก. สังวรปธาน
ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน
ง. อนุรักขนาปธาน
๓๔. สร้างความดีชีวีไม่ตกต่ำ เป็นความหมายของปธานใด ?
ก. สังวรปธาน
ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน
ง. อนุรักขนาปธาน
๓๕. รักษาความดีดุจเกลือรักษาความเค็ม เป็นความหมายของปธานใด ?
ก. สังวรปธาน
ข. ปหานปธาน
ค. ภาวนาปธาน
ง. อนุรักขนาปธาน
๓๖. ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ เรียกว่าอะไร ?
ก. วุฑฒิ
ข. จักร
ค. ปธาน
ง. อธิษฐาน
๓๗. รอบรู้ในสิ่งที่ควรรู้ เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ปัญญา
ข. สัจจะ
ค. จาคะ
ง. อุปสมะ
๓๘. ความจริงใจ เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ปัญญา
ข. สัจจะ
ค. จาคะ
ง. อุปสมะ
๓๙. สละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ปัญญา
ข. สัจจะ
ค. จาคะ
ง. อุปสมะ
๔๐. สงบใจจากสิ่งที่เป็นข้าศึก เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ปัญญา
ข. สัจจะ
ค. จาคะ
ง. อุปสมะ
๔๑. คุณเครื่องให้สำเร็จความประสงค์ เรียกว่าอะไร ?
ก. วุฑฒิ
ข. จักร
ค. อิทธิบาท
ง. อธิษฐาน
๔๒. ความพอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น ๆ เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ฉันทะ
ข. วิริยะ
ค. จิตตะ
ง. วิมังสา
๔๓. เพียรประกอบสิ่งนั้น ๆ เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ฉัันทะ
ข. วิริยะ
ค. จิตตะ
ง. วิมังสา
๔๔. เอาใจฝักใฝ่่ในสิ่งนั้น ๆ ไม่วางธุระ เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ฉัันทะ
ข. วิริยะ
ค. จิตตะ
ง. วิมังสา
๔๕. หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผู้ลในสิ่งนั้น ๆ เป็นคำแปลของข้อใด ?
ก. ฉัันทะ
ข. วิริยะ
ค. จิตตะ
ง. วิมังสา
๔๖. ธรรมอันเป็นเครื่องอยู่ของพรหมหรือผูู้ใหญ่ เรียกว่าอะไร ?
ก. วุฑฒิ
ข. จักร
ค. อิทธิบาท
ง. พรหมวิหาร
๔๗. ความรักใคร่ปรารถนาให้ผูู้อื่นเป็นสุข เป็นความหมายของข้อใด ?
ก. เมตตา
ข. กรุณา
ค. มุทิตา
ง. อุเบกขา
๔๘. ความสงสารคิดช่วยผูู้อื่นให้พ้นทุกข์ เป็นความหมายของข้อใด ?
ก. เมตตา
ข. กรุณา
ค. มุทิตา
ง. อุเบกขา
๔๙. ความพลอยยินดีเมื่อผูู้อื่นได้ดี เป็นความหมายของข้อใด ?
ก. เมตตา
ข. กรุณา
ค. มุทิตา
ง. อุเบกขา
๕๐. ความวางเฉยอย่างถูกต้องด้วยปัญญา เป็นความหมายของข้อใด ?
ก. เมตตา
ข. กรุณา
ค. มุทิตา
ง. อุเบกขา
ให้เวลา ๕๐ นาที
![](https://dhamma.lcbp.co.th/wp-content/uploads/2024/10/สนามหลวงแผนกธรรม.png)
ธรรมศึกษา ชั้นโท
ปัญหาและเฉลย วิชา อนุพุทธประวัติ
ระดับประถมศึกษา
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๖
![](https://dhamma.lcbp.co.th/wp-content/uploads/2024/10/boder-line.png)
๑. หลังตรัสรู้ พระพุทธเจ้าเสวยวิมุตติสุขอยู่กี่สัปดาห์ ?
ก. ๕ สัปดาห์
ข. ๖ สัปดาห์
ค. ๗ สัปดาห์
ง. ๘ สัปดาห์
๒. สัปดาห์ที่ ๑ ประทับเสวยวิมุตติสุข ณ ที่ใด ?
ก. ใต้ต้นโพธิ์
ข. ใต้ต้นไทร
ค. ใต้ต้นไผ่
ง. ใต้ต้นมะม่วง
๓. พระพุทธเจ้าทรงพบกับตปุสสะและภัลลิกะ ขณะประทับใต้ต้นไม้ใด ?
ก. ต้นเกตุ
ข. ต้นไผ่
ค. ต้นโพธิ์
ง. ต้นจิก
๔. พระพุทธเจ้า ทรงพิจารณาเปรียบสัตว์โลกกับดอกไม้ชนิดใด ?
ก. ดอกจำปี
ข. ดอกจำปา
ค. ดอกหว้า
ง. ดอกบัว
๕. ท้าวสหัมบดีพรหม ทูลอาราธนาให้พระพุทธเจ้าทำสิ่งใด ?
ก. สั่งสอนธรรม
ข. รับบิณฑบาต
ค. เดินจงกรม
ง. นั่งสมาธิ
๖. ดอกบัวที่ทรงยกมาเปรียบเทียบ ในพระบาลีปรากฏมีกี่ชนิด ?
ก. ๑ ชนิด
ข. ๒ ชนิด
ค. ๓ ชนิด
ง. ๔ ชนิด
๗. บุคคลผูู้มีปัญญาเฉียบแหลม ตรงกับข้อใด ?
ก. อุคฆฏิตัญญูู
ข. วิปจิตัญญูู
ค. เนยยะ
ง. ปทปรมะ
๘. บุคคลในข้อใด เปรียบด้วยบัวเสมอน้ำ ?
ก. อุคฆ์ฏิตัญญูู
ข. วิปัจิตัญญูู
ค. เนยยะ
ง. ปทปรมะ
๙. บุคคลผูู้อับปัญญา เปรียบด้วยบัวชนิดใด ?
ก. บัวพ้นน้ำ
ข. บัวเสมอน้ำ
ค. บัวจมน้ำ
ง. บัวใต้น้ำ
๑๐. พระพุทธเจ้าเสด็จไปป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เพื่อโปรดชนกลุ่มใด ?
ก. ปัญจวัคคีย์
ข. ภัททวัคคีย์
ค. สหายพระยสะ
ง. ชฎิล ๓ พี่น้อง
๑๑. อุปกาชีวกหลังสนทนากับพระพุทธเจ้าแล้ว ได้แสดงอาการอย่างไร ?
ก. หัวเราะ
ข. ร้องไห้
ค. สั่นศีรษะ
ง. ปรบมือ
๑๒. ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ตั้งอยู่ในเมืองใด ?
ก. สาวัตถี
ข. พาราณสี
ค. ราชคฤห์
ง. กบิลพัสดุ์
๑๓. ปัญจวัคคีย์หนีจากพระสมณโคดมไป เพราะเห็นว่าเลิกบำเพ็ญเรื่องใด ?ก.พุทธัตถจริยา
ข. โลกัตถจริยา
ค. ญาตัตถจิริยา
ง. ทุกรกิริยา
๑๔. “เราได้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว” พระพุทธเจ้าตรัสแกใคร ?
ก. ปัญจวัคคีย์
ข. อุปกาซีวก
ค. ยสกุลบุตร
ง. ชฎิล ๓ พี่น้อง
๑๕. ทางสุดโต่งที่บรรพชิตไม่ควรยึดถือปฏิบัติ มีกี่อย่าง ?
ก. ๑ อย่าง
ข. ๒ อย่าง
ค. ๓ อย่าง
ง. ๔ อย่าง
๑๖. มัชฌิมาปฏิปทา หมายถึงคำตอบในข้อใด ?
ก. ทางสายกลาง
ข. ทางสามแยก
ค. ทางสี่แยก
ง. ทางวันเวย์
๑๗. ผู้ใด ได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นคนแรกในขณะฟ้งปฐมเทศนา ?
ก. โกณฑัญญะ
ข. วัปปะ
ค. ภัททิยะ
ง. มหานามะ
๑๘. ผู้ใด ได้บวชเป็นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา ?
ก. โกณฑัญญะ
ข. วัปปะ
ค. ภัททิยะ
ง. อัสสซิ
๑๙. คำว่า อัญญา เป็นคำนำหน้าของใคร ?
ก. อาราหดาบส
ข. อุททกดาบส
ค. โกณฑัญญะ
ง. อัสสซิ
๒๐. ภิกษุปัญจวัคคีย์ฟังอนัตตลักขณสูตรจบแล้ว ได้บรรลุผลใด ?
ก. โสดาปัตติผล
ข.สกทาคามิผล
ค. อนาคามิผล
ง. อรหัตตผล
๒๑. กุลบุตรใด ได้พบพระพุทธเจ้าที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ?
ก. ยสะ
ข. สารีบุตร
ค. โมคคัลลานะ
ง. กัสสปะ
๒๒. บริวารที่นอนหลับใหลไม่ได้สติ ปรากฏแก่ยสกุลบุตรเหมือนสิ่งใด ?
ก. นางฟ้า
ข. ซากศพ
ค. คนป่วย
ง. คนบ้า
๒๓. “ที่นี่ไม่วุ่นวาย ที่นี่ไม่ขัดข้อง” พระพุทธเจ้าตรัสกับใคร ?
ก. อุปกาชีวก
ข. โกณฑัญญะ
ค. อัสสชิ
ง. ยสกุลบุตร
๒๔. ธรรมกถาใด ที่พระพุทธเจ้าแสดงแก่ยสกุลบุตร ?
ก. อนุปุพพีกถา
ข. กถาวัตถุ
ค. มงคลกถา
ง. เมตตากถา
๒๕. สหายที่ออกบวชตามพระยสะ มีกี่คน ?
ก. ๕๐ คน
ข. ๕๒ คน
ค. ๕๔ คน
ง. ๕๖ คน
๒๖. ชนเหล่าใด อาศัยอยู่ที่ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม ?
ก. ปัญจวัคคีย์
ข. ยสะและสหาย
ค. ภัททวัคคีย์
ง. ชฎิล ๓ พี่น้อง
๒๗. ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม ตั้งอยู่ในเขตเมืองใด ?
ก. ราชคฤห์
ข. สาวัตถี
ค. พาราณสี
ง. ไพสาลี
๒๘. ชฎิลท่านใด มีบริวารมากที่สุด ?
ก. อุรุเวลกัสสปะ
ข. นทีกัสสปะ
ค. คยากัสสปะ
ง. ถูกทุกข้อ
๒๙. ชฎิล ๓ พี่น้อง ตั้งอาศรมอยู่ใกล้ฝั่งแม่น้ำใด ?
ก. คงคา
ข. ยมุนา
ค. สรภู
ง. เนรัญชรา
๓๐. ชฎิล ๓ พี่น้อง นับถือลัทธิบูชาสิ่งใด ?
ก. ดิน
ข. น้ำ
ค. ไฟ
ง. ลม
๓๑. อุรุเวลกัสสปชฎิล มีบริวารกี่คน ?
ก. ๔๐๐
ข. ๕๐๐
ค. ๖๐๐
ง. ๗๐๐
๓๒. ชนกลุ่มใด ลอยบริขารและเครื่องบูชาไฟไปในแม่น้ำ ?
ก. ปัญจวัคคีย์
ข. สหายพระยสะ
ค. ภัททวัคคีย์
ง. ชฎิิล ๓ พี่น้อง
๓๓. ภิกษุ ๑,๐๐๓ รูป บรรลุพระอรหันต์เพราะฟังพระสูตรใด ?
ก. อนัตตลักขณสูตร
ข. อาทิตตปริยายสูตร
ค. มงคลสูตร
ง. รตนสูตร
๓๔. กรุงราชคฤห์ เป็นเมืองหลวงของแคว้นใด ?
ก. แคว้นมคธ
ข. แคว้นโกศล
ค. แคว้นกาสี
ง. แคว้นวัชชี
๓๕. พระเจ้าพิมพิสาร ทรงปกครองแคว้นใด ?
ก. แคว้นมคธ
ข. แคว้นโกศล
ค. แคว้นกาสี
ง. แคว้นอวันตี
๓๖. เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จถึงเมืองราชคฤห์ ทรงประทับอยู่ ณ ที่ใด ?
ก. เชตะวัน
ข. ลัฏฐิวัน
ค. อัมพวัน
ง. สาลวัน
๓๗. หลังฟังธรรมเทศนาจบ พระเจ้าพิมพิสารได้เป็นพระอริยบุคคลชั้นใด ?
ก. พระโสดาบัน
ข. พระสกทาคามี
ค. พระอนาคามี
ง. พระอรหันต์
๓๘. พระเจ้าพิมพิสาร ได้ตั้งความปรารถนาไว้กี่ประการ ?
ก. ๒ ประการ
ข. ๓ ประการ
ค. ๔ ประการ
ง. ๕ ประการ
๓๙. พระราชอุทยานใด ที่พระเจ้าพิมพิสารถวายให้สร้างเป็นวัด ?
ก. เชตวัน
ข. เวฬุวัน
ค. ลัฏฐิวัน
ง. สาลวัน
๔๐. กษัตริย์พระองค์ใด เป็นผูู้อุปถัมภ์การเผยแผ่ธรรมในเมืองราชคฤห์ ?
ก. พิมพิสาร
ข. สุทโธทนะ
ค. ปเสนทิโกศล
ง. อุเทน
๔๑. อุปติสสมาณพ เกิดในตระกูลใด ?
ก. กษัตริย์
ข. พราหมณ์
ค. แพศย์
ง. ศูทร
๔๒. อุปติสสมาณพ เกิดในหมู่บ้านใด ?
ก. ถูนคาม
ข. ปัจจันตคาม
ค. โกลิตคาม
ง. อุปติสสคาม
๔๓. นางสารีพราหมณ์ เป็นมารดาของใคร ?
ก. อุปัติสสมาณพ
ข. โกลิตมาณพ
ค. นันทมาณพ
ง. สิงคาลกมาณพ
๔๔. โกลิตมาณพ มีเพื่อนสนิทชื่อว่าอะไร ?
ก. อุปติสสมาณพ
ข. ปิงคิยมาณพ
ค. นันทมาณพ
ง. สิงคาลกมาณพ
๔๕. โกลิตมาณพ เป็นบุตรของใคร ?
ก. นางสุชาดา
ข. นางโมคคัลลี
ค. นางสารี
ง. นางวิสาขา
๔๖. อุปติสสะและโกลิตะ ดูมหรสพแล้วเกิดความรู้สึกอย่างไร ?
ก. สนุกสนาน
ข. ไม่รู้สึกอะไร
ค. ผ่อนคลาย
ง. เบื่อหน่าย
๔๗. อุปติสสปริพาชก ได้ฟังธรรมจากพระเถระองค์ใด ?
ก. พระอัสสชิ
ข. พระยสะ
ค. พระนทีกัสสปะ
ง. พระคยากัสสปะ
๔๘. อุปติสสปริพาชกฟังธรรมจากพระอัสสชิแล้ว ได้กลับมาบอกแก่ใคร ?
ก. โกลิตะ
ข. ปิปผลิ
ค. นันทะ
ง. สิงคาลกะ
๔๙. พระเถระองค์ใด เป็นพระอัครสาวกเบื้องซ้าย ?
ก. พระยสะ
ข. พระนทีกัสสปะ
ค. พระสารีบุตร
ง. พระโมคคัลลานะ
๕๐. พระเถระองค์ใด เป็นพระอัครสาวกเบื้องขวา ?
ก. พระยสะ
ข. พระนทีกัสสปะ
ค. พระสารีบุตร
ง. พระโมคคัลลานะ
ให้เวลา ๕๐ นาที
![](https://dhamma.lcbp.co.th/wp-content/uploads/2024/10/สนามหลวงแผนกธรรม.png)
ธรรมศึกษา ชั้นโท
ปัญหาและเฉลย วิชา อุโบสถศีล (วินัย)
ระดับประถมศึกษา
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๖
![](https://dhamma.lcbp.co.th/wp-content/uploads/2024/10/boder-line.png)
๑. ข้อใด เป็นวิธียกระดับจิตใจของมนุษย์ให้สูงขึ้นกว่าการถือศีล ๕ ?
ก. ถือศีล ๘
ข. สวดมนต์
ค. ฟังเทศน์
ง. ตักบาตร
๒. อุโบสถศีล มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. ถือศีล ๕
ข. ถือศีล ๘
ค. ถือสรณะ
ง. ถือฤกษ์ยาม
๓. อุโบสถศีล บัญญัติขึ้นเพื่อฝึกตนไม่ให้มัวเมาในสิ่งใดมากเกินไป ?
ก. วัตถุสิ่งของ
ข. การกิน
ค. การนั่งนอน
ง. ถูกทุกข้อ
๔. การรักษาอุโบสถศีล เป็นวิธีปฏิบัติของใคร ?
ก. อุบาสกอุบาสิกา
ข. ภิกษุ
ค. ภิกษุณี
ง. สามเณร
๕. ข้อใด เป็นการรักษาอุโบสถก่อนพุทธกาล ?
ก. รักษาศีล ๘
ข. รับสรณคมน์
ค. อดอาหาร
ง. ถูกทุกข้อ
๖. พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ รวมกันเรียกว่าอะไร ?
ก. พระไตรรัตน์
ข. พระไตรปิฎก
ค. สรณคมน์
ง. พระอริยสงฆ์
๗. การนับถือพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง ตรงกับคำใด ?
ก. อุโบสถ
ข. สิกขา
ค. สรณคมน์
ง. พระพุทธเจ้า
๘. ข้อใด เป็นวิธีการเข้าถึงไตรสรณคมน์ ?
ก. ไหว้ครู
ข. บูชายัญ
ค. เป็นพุทธมามกะ
ง. นับถือผู้
๙. การขาดสรณคมน์ ย่อมไม่เกิดขึ้นในบุคคลใด ?
ก. พระอริยบุคคล
ข. อุบาสก
ค. อุบาสิกา
ง. บุคคลทั่วไป
๑๐. สรณคมน์ของบุคคลผูู้ติเตียนพระรัตนตรัยเป็นอย่างไร ?
ก. เสื่อมสภาพ
ข. พ้นสภาพ
ค. ขาด
ง. เศร้าหมอง
๑๑. ข้อใด ไม่ใช่สาเหตุทำให้สรณคมน์ขาดหรือเศร้าหมอง ?
ก. ตาย
ข. เปลี่ยนศาสนา
ค. ลบหลู่เจ้าที่
ง. ดูหมิ่นพระสงฆ์
๑๒. ข้อใด เป็นสาเหตุให้สรณคมน์ของทุกคนขาด ?
ก. ความชรา
ข. ความยากจน
ค. ความเจ็บป่วย
ง. ความตาย
๑๓. ข้อใด เป็นวัตถุประสงค์ในการถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ?
ก. อยู่ใกล้ชิด
ข. ขอโชคลาภ
ค. แก้กรรม
ง. ที่พึ่งทางใจ
๑๔. ผูู้ตรัสรู้ธรรมด้วยตนเองแล้ว แนะนำผูู้อื่นให้รู้ตาม คือรัตนะใด ?
ก. พระพุทธ
ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์
ง. ถูกทุกข้อ
๑๕. ข้อใด เป็นพระคุณของพระพุทธเจ้า ?
ก. ปัญญาคุณ
ข. บริสุทธิ์คุณ
ค. กรุณาคุณ
ง. ถูกทุกข้อ
๑๖. รักษาผูู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปสู่ที่ชั่ว คือรัตนะใด ?
ก. พระพุทธ
ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์
ง. ถูกทุกข้อ
๑๗. ทุคติหรืออบายภูมิเป็นที่เกิดของคนทำความชั่ว ได้แก่ข้อใด ?
ก. เปรต
ข. มนุษย์
ค. เทวดา
ง. พรหม
๑๘. คำใด เป็นคุณของพระสงฆ์ ?
ก. พุทโธ
ข. โลกวิทู
ค. อนุตตโร
ง. อุชุปฏิปันโน
๑๙. ใครประกาศคำสอนของพระพุทธเจ้าให้ชาวพุทธัรู้จักบาปบุญ ?
ก. พระสงฆ์
ข. พ่อแม่
ค. ครู
ง. เพื่อน
๒๐. พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติอุโบสถศีลไว้กี่ข้อ ?
ก. ๕ ข้อ
ข. ๘ ข้อ
ค. ๑๐ ข้อ
ง. ๒๒๗ ข้อ
๒๑. อุโบสถศีลข้อที่ ๑ ผูู้รักษาต้องงดเว้นเรื่องใด ?
ก. ฆ่าสัตว์
ข. ลักทรัพย์
ค. เสพกาม
ง. พูดเท็จ
๒๒. ผูู้รักษาอุโบสถศีลข้อที่ ๑ ห้ามทำผิดเรื่องใด ?
ก. ยิงนก
ข. ตกปลา
ค. จับแมลง
ง. ถูกทุกข้อ
๒๓. อุโบสถศีลข้อที่ ๒ ผูู้รักษาต้องงดเว้นเรื่องใด ?
ก. ฆ่าสัตว์
ข. ลักทรัพย์
ค. พูดเท็จ
ง. ดื่มน้ำเมา
๒๔. ผูู้รักษาอุโบสถศีลข้อที่ ๒ ห้ามทำผิดเรื่องใด ?
ก. ลักขโมย
ข. หนีเรียน
ค. พนันบอล
ง. เล่นเกมส์
๒๕. อุโบสถศีลข้อที่ ๓ ผูู้รักษาต้องงดเว้นเรื่องใด ?
ก. เล่นกีฬา
ข. เสพกาม
ค. ขาดเรียน
ง. ลาป่วย
๒๖. อุโบสถศีลข้อที่ ๔ ผูู้รักษาต้องงดทำเรื่องใด ?
ก. เล่นเกมส์
ข. พูดโกหก
ค. ส่งเสียงดัง
ง. แข่งรถ
๒๗. อุโบสถศีลข้อที่ ๔ ผูู้รักษาควรสำรวมระวังเรื่องใด ?
ก. การพูด
ข. การกิน
ค. การนอน
ง. การแต่งตัว
๒๘. อุโบสถศีลข้อที่ ๕ ผูู้รักษาควรมีสติระมัดระวังเรื่องใด ?
ก. สุรา
ข. กัญชา
ค. ยาบ้า
ง. ถูกทุกข้อ
๒๙. เครื่องดื่มชนิดใด เป็นข้อห้ามของอุโบสถศีลข้อที่ ๕ ?
ก. น้ำเมา
ข. น้ำผึ้ง
ค. น้ำชา
ง. กาแฟ
๓๐. อุโบสถศีลข้อที่ ๖ ผูู้รักษาต้องงดรับประทานอาหารมื้อใด ?
ก. มื้อเช้า
ข. มื้อเพล
ค. มื้อเย็น
ง. ถูกทุกข้อ
๓๑. เครื่องดื่มประเภทใด สามารถดื่มในขณะรักษาอุโบสถศีลได้ ?
ก. เบียร์
ข. น้ำผลไม้
ค. น้ำกัญชา
ง. น้ำกระท่อม
๓๒. หลังเที่ยงวันไปจนถึงเช้าของวันใหม่ เรียกว่าอะไร ?ก. วินาที
ข. วิกาล
ค. นาที
ง. ชั่วโมง
๓๓. อุโบสถศีลข้อที่ ๗ ผูู้รักษาต้องไม่ยุ่งเกี่ยวกับเรื่องใด ?
ก. อบายมุข
ข. กินมื้อเย็น
ค. เสพกาม
ง. เสริมสวย
๓๔. อะไรเป็นข้อห้ามของอุโบสถศีลข้อที่ ๗ ?
ก. ร้องเพลง
ข. สวดสรภัญญะ
ค. แกล้งเพื่อน
ง. ขโมยของ
๓๕. อุโบสถศีลข้อใด ผูู้รักษาต้องงดแต่งหน้าทาปากเขียนคิ้ว ?
ก. ข้อที่ ๑
ข. ข้อที่ ๕
ค. ข้อที่ ๗
ง. ข้อที่ ๘
๓๖. อุโบสถศีลข้อใด อนุญาตให้ทาแป้งเพื่อรักษาโรคผิวหนังได้ ?
ก. ข้อที่ ๔
ข. ข้อที่ ๖
ค. ข้อที่ ๗
ง. ข้อที่ ๘
๓๗. ที่นอนสูงใหญ่ เป็นสิ่งต้องห้ามของอุโบสถศีลข้อใด ?
ก. ข้อที่ ๓
ข. ข้อที่ ๕
ค. ข้อที่ ๗
ง. ข้อที่ ๘
๓๘. อุโบสถศีลข้อที่ ๘ บัญญัติไว้เกี่ยวกับเรื่องใด ?
ก. การนั่งนอน
ข. การกิน
ค. การเล่นกีฬา
ง. การเข้าค่าย
๓๙. การรักษาอุโบสถ กำหนดให้สมาทานศีลในเวลาใด ?
ก. เช้าตรู่
ข. บ่าย
ค. เย็น
ง. กลางคืน
๔๐. ขณะรักษาอุโบสถศีล ควรทำเรื่องใด ?
ก. งดทำบุญ
ข. งดทำบาป
ค. งดฟังเทศน์
ง. งดสวดมนต์
๔๑. ขณะรักษาอุโบสถศีล ไม่ควรทำเรื่องใด ?
ก. ไหว้พระ
ข. สวดมนต์
ค. ฆ่ายุง
ง. ฟังเทศน์
๔๒. การรักษาอุโบสถ ปัจจุบันนิยมรักษากันในสถานที่ใด ?
ก. บ้าน
ข. วัด
ค. โรงเรียน
ง. ป่าช้า
๔๓. ข้อใด อยู่ในพิธีรักษาอุโบสถศีล ?
ก. ตักบาตร
ข. ปล่อยปลา
ค. บูชาพระรัตนตรัย
ง. กวาดบ้าน
๔๔. ปกติอุโบสถ นิยมสมาทานรักษาในวันใด ?
ก. วันโกน
ข. วันพระ
ค. วันเสาร์
ง. วันอาทิตย์
๔๕. ปฏิชาครอุโบสถ กำหนดให้รักษาคราวละกี่วัน ?
ก. ๑ วัน
ข. ๒ วัน
ค. ๓ วัน
ง. ๔ วัน
๔๖. ปาฏิหาริยอุโบสถ กำหนดให้รักษานานที่สุดกี่เดือน ?
ก. ๔ เดือน
ข. ๓ เดือน
ค. ๒ เดือน
ง. ๑ เดือน
๔๗. โคปาลกอุโบสถ เปรียบคนรักษาเหมือนคนเลี้ยงสัตว์ประเภทใด ?
ก. ช้าง
ข. ม้า
ค. โค
ง. เสือ
๔๘. อุโบสถใด ผูู้รักษาปฏิบัติตนเหมือนนักบวชนอกพระพุทธศาสนา ?
ก. ปกติอุโบสถ
ข. นิคคัณฐอุโบสถ
ค. อริยอุโบสถ
ง. ถูกทุกข้อ
๔๙. อุโบสถประเภทใด ผูู้สมาทานรักษาได้รับอานิสงส์มากที่สุด ?
ก. โคปาลกอุโบสถ
ข. นิคคัณฐอุโบสถ
ค. อริยอุโบสถ
ง. ถูกทุกข้อ
๕๐. การถืออุโบสถศีลจะได้รับผู้ลมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับอะไร ?
ก. ตั้งใจเรียน
ข. ตั้งใจรักษา
ค. เชื่อฟังครู
ง. ขยันอ่านหนังสือ
ให้เวลา ๕๐ นาที