ธรรมศึกษา ชั้นโท
ปัญหา วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม
ระดับมัธยมศึกษา
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๖
อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย
อตฺตทตฺถมภิญฺญาย สทตฺถปสุโต สิยา.
บุคคลไม่ควรพล่าประโยชน์ของตน
เพราะประโยชน์ผูู้อื่นแม้มาก
รู้จักประโยชน์ของตนแล้ว
พึงขวนขวายในประโยชน์ของตน.
คัมภีร์ที่มา : ขุทฺทกนิกาย ธรรมบท
แต่งอธิบายให้สมเหตุสมผล โดยใช้สุภาษิตที่สนามหลวงแผนกธรรมกำหนดมาให้ จำนวน ๕ สุภาษิตข้างล่างนี้ มาประกอบอ้างอิงเพียง ๒ สุภาษิต และสุภาษิตที่อ้างมานั้น ควรอธิบายเชื่อมความให้สมกับเรื่องในกระทู้ตั้ง
ในชั้นนี้ กำหนดให้เขียนลงในกระดาษใบตอบตั้งแต่ ๓ หน้า (เว้นบรรทัด) ขึ้นไป
——————-
ให้เวลา ๓ ชั่วโมง
ยญฺหิ กิจฺจํ ตทปวิทฺธํ อกิจฺจํ ปน กยิรติ
อุนฺนฬานํ ปมตฺตานํ เตสํ วฑฺฒนฺติ อาสวา.
คนทอดทิ้งกิจที่ควรทำ ไปทำกิจที่ไม่ควรทำ
เมื่อเขาถือตัวมัวประมาท อาสวะย่อมเจริญ.
คัมภีร์ที่มา : ขุททกนิกาย ธรรมบท
ยสฺส ปาปํ กตํ กมฺมํ กุสเลน ปิถียติ
โสมํ โลกํ ปภาเสติ อพฺภา มุตฺโตว จนฺทิมา.
ผู้ใดทำกรรมชั่วแล้ว ละเสียได้ด้วยกรรมดี
ผู้นั้นย่อมยังโลกนี้ให้สว่าง
เหมือนพระจันทร์พ้นจากเมฆหมอกฉะนั้น.
คัมภีร์ที่มา : มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ
กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ.
บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผู้ลเช่นนั้น
ผูู้ทำกรรมดี ย่อมได้ผลดี ผูู้ทำกรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว.
คัมภีร์ที่มา : สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
ชีวเตวาปิ สปฺปญฺโญ อปิ วิตฺตปริกฺขยา
ปญฺญาย จ อลาเภน วิตฺตวาปิ น ชีวติ.
ถึงสิ้นทรัพย์ ผู้มีปัญญาก็เป็นอยู่ได้ แต่อับปัญญา
แม้มีทรัพย์ก็เป็นอยู่ไม่ได้.
คัมภีร์ที่มา : ขุททกนิกาย เถรคาถา
โย จ วสฺสสตํ ชีเว ทุปฺปญฺโญ อสมาหิโต
เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย ปญฺญวนฺตสฺส ฌายิโน.
ผูู้ใดมีปัญญาทราม มีใจไม่มั่นคง พึงเป็นอยู่ตั้งร้อยปี
ส่วนผูู้มีปัญญาเพ่งพินิจ มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ดีกว่า
คัมภีร์ที่มา : ขุทฺทกนิกาย ธรรมบท
ธรรมศึกษา ชั้นโท
ปัญหาและเฉลย วิชา ธรรม
ระดับมัธยมศึกษา
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๖
๑. ปิฎก หมายถึงอะไร ?
ก. คัมภีร์
ข. หลักสูตร
ค. ตำนาน
ง. วรรณคดี
๒. พระธรรมเทศนาที่อ้างอิงถึงบุคคล จัดอยู่ในปิฎกใด ?
ก. พระวินัย
ข. พระสูตร
ค. พระอภิธรรม
ง. ถูกทุกข้อ
๓. พระธรรมเทศนาที่กล่าวถึงสภาวธรรมเท่านั้น จัดอยู่ในปิฎกใด ?
ก. พระวินัย
ข. พระสูตร
ค. พระอภิธรรม
ง. ถูกทุกข้อ
๔. พระพุทธเจ้าทรงบำเพ็ญพุทธจริยา ๓ ประการ เป็นเวลากี่ปี ?
ก. ๒๙ ปี
ข. ๓๕ ปี
ค. ๔๕ ปี
ง. ๘๐ ปี
๕. การเสด็จออกบิณฑบาต จัดเป็นจริยาใด ?
ก. โลกัตถจริยา
ข. ญาตัตถจริยา
ค. พุทธัตถจริยา
ง. ถูกทุกข้อ
๖. การที่ทรงห้ามพระญาติทั้ง ๒ ฝ่ายที่วิวาทกัน จัดเป็นจริยาใด ?
ก. โลกัตถจริยา
ข. ญาตัตถจริยา
ค. พุทธััตถจริยา
ง. ถูกทุกข้อ
๗. การที่ทรงบัญญัติสิกขาบท จัดเป็นจริยาใด ?
ก. โลกัตถจริยา
ข. ญาตัตถจริยา
ค. พุทธััตถจริยา
ง. ถูกทุกข้อ
๘. การเวียนตายเวียนเกิด อยู่ในภพภูมิต่าง ๆ เรียกว่าอะไร ?
ก. วัฏฏะ
ข. กิเลสวัฏฏะ
ค. กัมมวัฏฏะ
ง. วิปากวัฏฏะ
๙. วงจรกิเลส หมายถึงข้อใด ?
ก. อวิชชา
ข. ตัณหา
ค. อุปาทาน
ง. ถูกทุกข้อ
๑๐. วงจรวิบาก หมายถึงข้อใด ?
ก. อวิชชา
ข. ตัณหา
ค. อุปาทาน
ง. ชาติ
๑๑. ข้อปฏิบัติสำหรับศึกษาเพื่อฝ่ึกกาย วาจา ใจ เรียกว่าอะไร ?
ก. อธิสีลสิกขา
ข. อธิจิตตสิกขา
ค. อธิปัญญาสิกขา
ง. ถูกทุกข้อ
๑๒. การฝึกอบรมเพื่อให้เกิดความรู้แจ้งเห็นจริง จัดเป็นสิกขาใด ?
ก. อธิสีลสิกขา
ข. อธิจิตตสิกขา
ค. อธิปัญญาสิกขา
ง. ถูกทุกข้อ
๑๓. การฝึกอบรมเพื่อให้เกิดสมาธิขั้นสูง จัดเป็นสิกขาใด ?
ก. อธิสีลสิกขา
ข. อธิจิตตสิกขา
ค. อธิปัญญาสิกขา
ง. ถูกทุกข้อ
๑๔. การฝึกอบรมความประพฤติ จัดเป็นสิกขาใด ?
ก. อธิสีลสิกขา
ข. อธิจิตตสิกขา
ค. อธิปัญญาสิกขา
ง. ถูกทุกข้อ
๑๕. ลักษณะที่เสมอกันของสังขารทั้งปวง เรียกว่าอะไร ?
ก. อนิจจตา
ข. ทุกขตา
ค. อนัตตตา
ง. ถูกทุกข้อ
๑๖. อาการที่ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ จัดเป็นสามัญญลักษณะใด ?
ก. อนิจจตา
ข. ทุกขตา
ค. อนัตตตา
ง. ถูกทุกข้อ
๑๗. การเปลี่ยนแปลงของสังขาร จัดเป็นสามัญญลักษณะใด ?
ก. อนิจจตา
ข. ทุกขตา
ค. อนัตตตา
ง. ถูกทุกข้อ
๑๘. เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร เป็นการพิจารณาแล้วทำอย่างไร ?
ก. บริโภค
ข. อดกลั้น
ค. เว้น
ง. บรรเทา
๑๙. อาหารและยารักษาโรค พิจารณาแล้วควรทำอย่างไร ?
ก. บริโภค
ข. อดกลั้น
ค. เว้น
ง. บรรเทา
๒๐. คบคนพาล พาลพาไปหาผิด พิจารณาแล้วควรทำอย่างไร ?
ก. บริโภค
ข. อดกลั้น
ค. เว้น
ง. บรรเทา
๒๑. พิจารณาเห็นความชั่วร้ายที่เกิดขึ้นภายในใจแล้ว ควรทำอย่างไร ?
ก. บริโภค
ข. อดกลั้น
ค. เว้น
ง. บรรเทา
๒๒. ผูู้แรกถึงกระแสพระนิพพาน หมายถึงพระอริยบุคคลชั้นใด ?
ก. พระโสดาบัน
ข. พระสกทาคามี
ค. พระอนาคามี
ง. พระอรหันต์
๒๓. พระอริยบุคคลชั้นไหนทำราคะ โทสะ โมหะ ให้เบาบางลงได้ ?
ก. พระโสดาบัน
ข. พระสกทาคามี
ค. พระอนาคามี
ง. พระอรหันต์
๒๔. พระอริยบุคคลตั้งแต่ชั้นไหนไป ละกามราคะได้ ?
ก. พระโสดาบัน
ข. พระสกทาคามี
ค. พระอนาคามี
ง. พระอรหันต์
๒๕. บรรลุโสดาปัตติมรรคแล้ว ละสังโยชน์ใดได้บ้าง ?
ก. สักกายทิฏฐิ
ข. วิจิกิจฉา
ค. สีลัพพตปรามาส
ง. ถูกทุกข้อ
๒๖. สังโยชน์เป็นกิเลสอย่างหนึ่ง เปรียบเสมือนอะไร ?
ก. โรค
ข. ยารักษาโรค
ค. อาการที่หายจากโรค
ง. ถูกทุกข้อ
๒๗. มรรค ๔ เปรียบเสมือนอะไร ?
ก. โรค
ข. ยารักษาโรค
ค. อาการที่หายจากโรค
ง. ถูกทุกข้อ
๒๘. ผู้ล ๔ เปรียบเสมือนอะไร ?
ก. โรค
ข. ยารักษาโรค
ค. อาการที่หายจากโรค
ง. ถูกทุกข้อ
๒๙. การแสดงธรรมที่เริ่มจากง่ายไปหายากเรียกว่าอะไร ?
ก. อนุปัุพพิกถา
ข. อริยสัจ
ค. อนัตตลักขณสูตร
ง. อิทธิบาท
๓๐. กถาว่าด้วยการเสียสละแบ่งปัน จัดเป็นกถาใด ?
ก. ทานกถา
ข. สีลกถา
ค. สัคคกถา
ง. กามาทีนวกถา
๓๑. การอธิบายถึงผลที่ผูู้ให้ทานรักษาศีลจะพึงได้รับ จัดเป็นกถาใด ?
ก. ทานกถา
ข. สีลกถา
ค. สัคคกถา
ง. กามาทีนวกถา
๓๒. กุลมัจฉริยะ หมายถึงความตระหนี่ในเรื่องใด ?
ก. ถิ่นที่อยู่
ข. สกุล
ค. ทรัพย์สมบัติ
ง. วรรณะ
๓๓. หวงวิชาความรู้ จัดเป็นมัจฉริยะใด ?
ก. กุลมัจฉริยะ
ข. ลาภมัจฉริยะ
ค. วัณณมัจฉริยะ
ง. ธัมมมัจฉริยะ
๓๔. อุปสรรคที่ขัดขวางไม่ให้บุคคลประสบความสำเร็จ เรียกว่าอะไร ?
ก. มาร
ข. ทุจริต
ค. อคติ
ง. อกุศลมูล
๓๕. รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ จัดเป็นมารประเภทใด ?
ก. กิเลสมาร
ข. ขันธมาร
ค. มัจจุมาร
ง. อภิสังขารมาร
๓๖. คนทุจริต คิดมิชอบ เพราะถูกมารใดครอบงำ ?
ก. กิเลสมาร
ข. ขันธมาร
ค. มัจจุมาร
ง. อภิสังขารมาร
๓๗. ในระดับสังคมจะชนะมารได้ด้วยการบำเพ็ญธรรมใด ?
ก. เบญจศีล
ข. เบญจธรรม
ค. สุจริต ๓
ง. ถูกทุกข้อ
๓๘. มีสลึงพึงบรรจบให้ครบบาท ตรงกับธรรมข้อใด ?
ก. อุฏฐานสัมปทา
ข. อารักขสัมปทา
ค. กัลป์ยาณมิตตตา
ง. สมชีวิตา
๓๙. ข้อใด จัดเป็นอุฏฐานสัมปทา ?
ก. ขยันหา
ข. รักษาดี
ค. มีกัลยาณมิตร
ง. เลี้ยงชีวิตพอเพียง
๔๐. ข้อใด จัดเป็นสมชีวิตา ?
ก. ขยันหา
ข. รักษาดี
ค. มีกัลยาณมิตร
ง. เลี้ยงชีวิตพอเพียง
๔๑. อันเพื่อนดีมีหนึ่งถึงจะน้อยดีกว่าร้อยเพื่อนคิดริษยา ตรงกับข้อใด ?
ก. อุฏฐานสัมปทา
ข. อารักขสัมปทา
ค. กัลยาณมิตตตา
ง. สมชีวิตา
๔๒. เชื่อว่าทำดีผู้ลไม่เป็นชั่ว ทำชั่วผลไม่เป็นดี จัดเป็นสัมปทาใด ?
ก. สัทธาสัมปทา
ข. สีลสัมปทา
ค. จาคสัมปทา
ง. ปัญญาสัมปทา
๔๓. รู้เท่าทันเหตุการณ์ไม่เชื่อง่าย จัดเป็นสัมปทาใด ?
ก. สัทธาสัมปทา
ข. สีลสัมปทา
ค. จาคสัมปทา
ง. ปัญญาสัมปทา
๔๔. ในทิศ ๖ มารดาบิดา จัดเป็นทิศใด ?
ก. ทิศเบื้องหน้า
ข. ทิศเบื้องขวา
ค. ทิศเบื้องซ้าย
ง. ทิศเบื้องบน
๔๕. ข้อใด เป็นหน้าที่ของบุตรธิดาที่จะพึงตอบแทนมารดาบิดา ?
ก. เลี้ยงดูท่าน
ข. ช่วยงานท่าน
ค. ทำบุญอุทิศให้
ง. ถูกทุกข้อ
๔๖. ข้อใด เป็นหน้าที่ของมารดาบิดาที่จะพึงอนุเคราะห์บุตรธิดา ?
ก. ห้ามทำชั่ว
ข. ให้ทำดี
ค. ให้มีการศึกษา
ง. ถูกทุกข้อ
๔๗. ทักขิณทิศ คือทิศเบื้องขวา หมายถึงบุคคลในข้อใด ?
ก. มารดาบิดา
ข. มิตรสหาย
ค. สมณพราหมณ์
ง. ครูอาจารย์
๔๘. ควรแสดงความเคารพต่อทิศเบื้องขวา ด้วยวิธีใด ?
ก. ยืนต้อนรับ
ข. เชื่อฟัง
ค. ตั้งใจศึกษา
ง. ถูกทุกข้อ
๔๙. อุปริมทิศ คือทิศเบื้องบน หมายถึงบุคคลในข้อใด ?
ก. มารดาบิดา
ข. มิตรสหาย
ค. สมณพราหมณ์
ง. ครูอาจารย์
๕๐. ควรแสดงความเคารพต่อทิศเบื้องบน ด้วยวิธีใด ?
ก. ทำดีกับท่าน
ข. เต็มใจต้อนรับ
ค. ให้ความอุปถัมภ์
ง. ถูกทุกข้อ
ให้เวลา ๕๐ นาที
ธรรมศึกษา ชั้นโท
ปัญหาและเฉลย วิชา อนุพุทธประวัติ
ระดับมัธยมศึกษา
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๖
๑. ปิปผลิ เป็นชื่อเดิมของพระเถระองค์ใด ?
ก. พระสารีบุตร
ข. พระมหากัสสปะ
ค. พระอานนท์
ง. พระอนุรุทธะ
๒. ปิปผลิมาณพ เกิดในตระกูลใด ?
ก. นักรบ
ข. พราหมณ์
ค. พ่อค้า
ง. คนใช้แรงงาน
๓. นางภัททกาปิลานีแต่งงานกับปิปผลิมาณพ ขณะมีอายุกี่ปี ?
ก. ๑๖ ปี
ข. ๑๗ ปี
ค. ๑๘ ปี
ง. ๑๙ ปี
๔. ปกติผู้จุติมาจากพรหมโลก จะไม่ยินดีกับเรื่องใด ?
ก. กินอาหาร
ข. กามารมณ์
ค. การนอนหลับ
ง. การสวดมนต์
๕. ภัททกาปิลานีภิกษุณี สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลชั้นใด ?
ก. พระโสดาบัน
ข. พระสกทาคามี
ค. พระอนาคามี
ง. พระอรหันต์
๖. ปิปผลิมาณพ ได้พบพระพุทธเจ้าขณะประทับอยู่ใต้ต้นไม้ใด ?
ก. ต้นโพธิ์
ข. ต้นไทร
ค. ต้นไผู้่
ง. ต้นสาละ
๗. ปิปผู้ลิมาณพ ได้รับการอุปสมบทด้วยวิธีใด ?
ก. เอหิภิกขุ
ข. รับสรณะ ๓
ค. รับโอวาท ๓
ง. ญัตติจตุตถกรรม
๘.ปิปผลิมาณพ เมื่อบวชเป็นพระภิกษุแล้ว มีชื่อเรียกใหม่ว่าอะไร ?
ก. พระยสะ
ข. พระสารีบุตร
ค. พระมหากัสสปะ
ง. พระอัสสชิ
๙. พระเถระองค์ใด ได้รับชมเชยว่าถือธุดงค์ ๓ ?
ก. พระยสะ
ข. พระสารีบุตร
ค. พระมหากัสสปะ
ง. พระมหานามะ
๑๐. พระมหากัสสปะเป็นประธานสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่เท่าไร ?
ก. ครั้งที่ ๑
ข. ครั้งที่ ๒
ค. ครั้งที่ ๓
ง. ครั้งที่ ๔
๑๑. การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่๑ ทำอยู่กี่เดือน ?
ก. ๕ เดือน
ข. ๖ เดือน
ค. ๗ เดือน
ง. ๘ เดือน
๑๒. พระมหากัจจายนะ เกิดในเมืองใด ?
ก. ราชคฤห์
ข. พาราณสี
ค. สาวัตถี
ง. อุชเชนี
๑๓. กษัตริย์พระองค์ใด สงกัจจายนปุโรหิตไปทูลเชิญพระพุทธเจ้า ?
ก. จัณฑปัชโชติ
ข. สุทโธทนะ
ค. พิมพิสาร
ง. อชาตศัตรู
๑๔. พระมหากัจจายนะได้รับการยกย่องในด้านใด ?
ก. แสดงธรรม
ข. แสดงฤทธิ์
ค. เดาใจคน
ง. ย่นระยะทาง
๑๕. บุตรเศรษฐีโสเรยยะ กลายเป็นหญิงเพราะคิดอกุศลต่อพระเถระใด ?
ก. พระอัสสชิ
ข. พระยสะ
ค. พระสารีบุตร
ง. พระมหากัจจายนะ
๑๖. พระเถระองค์ใด เป็นโอรสของพระเจ้าสุกโกทนะ ?
ก. พระมหากัสสปะ
ข. พระสารีบุตร
ค. พระอานนท์
ง. พระสิวลี
๑๗. พระเถระองค์ใด เป็นพุทธอนุชา ?
ก. พระนันทะ
ข. พระสารีบุตร
ค. พระโมคคัลลานะ
ง. พระอานนท์
๑๘. พระอานนท์ ออกบวชพร้อมกับพระเถระองค์ใด ?
ก. พระวัปปะ
ข. พระยสะ
ค. พระอนุรุทธะ
ง. พระนันทะ
๑๙. ใครออกบวชพร้อมกับพระอานนท์ ?
ก. อุปกาชีวก
ข. ตปุสสะ
ค. ภัลลิกะ
ง. อุบาลี
๒๐. พระเถระองค์ใด ได้รับมอบหน้าที่อุปัฏฐากพระพุทธเจ้า ?
ก. พระนันทะ
ข. พระอานนท์
ค. พระอุบาลี
ง. พระสิวลี
๒๑. สัตว์ชนิดใด ที่พระอานนท์ยืนขวางเพื่อไม่ให้ทำร้ายพระพุทธเจ้า ?
ก. ช้างนาฬาคิรี
ข. ม้าสินธพ
ค. โคอุสุภะ
ง. พญานาค
๒๒. การทำสังคายนาครั้งแรก พระอานนท์ทำหน้าที่วิสัชนาเรื่องใด ?
ก. พระวินัย
ข. พระสูตร
ค. พระสูตรและพระอภิธรรม
ง. ถูกทุกข้อ
๒๓. พระอานนท์ ได้รับยกย่องว่าเป็นผูู้เลิศในด้านใด ?
ก. มีลาภมาก
ข. มีฤทธิ์มาก
ค. มีบริวารมาก
ง. เป็นพหูสูต
๒๔. พระอานนท์ดับขันธ์นิพพาน ในท่ามกลางแม่น้ำใด ?
ก. คงคา
ข. ยมุนา
ค. เนรัญชรา
ง. โรหิณี
๒๕. พระอุบาลี เป็นบุตรนายช่างใด ?
ก. ช่างตัดผม
ข. ช่างย้อมผ้า
ค. ช่างเย็บผ้า
ง. ช่างทอผ้า
๒๖. พระอุบาลีออกบวชพร้อมพระราชกุมารกี่พระองค์ ?
ก. ๓ พระองค์
ข. ๔ พระองค์
ค. ๕ พระองค์
ง. ๖ พระองค์
๒๗. พระอุบาลี ได้รับยกย่องว่าเป็นผูู้เลิศในด้านใด ?
ก. ทรงจำพระสูตร
ข. ทรงจำพระวินัย
ค. มีฤทธิ์มาก
ง. มีลาภมาก
๒๘. ในปฐมสังคายนา พระอุบาลีได้รับเลือกให้วิสัชนาเรื่องใด ?
ก. พระวินัย
ข. พระสูตร
ค. พระอภิธรรม
ง. ถูกทุกข้อ
๒๙. พระสิวลี เกิดในวรรณะใด ?
ก. กษัตริย์
ข. พราหมณ์
ค. แพศย์
ง. ศูทร
๓๐. พระสิวลี เกิดในเมืองใด ?
ก. สาวัตถี
ข. พาราณสี
ค. กบิลพัสดุ์
ง. โกลิยะ
๓๑. พระนางสุปปวาสา เป็นพระมารดาของพระเถระองค์ใด ?
ก. พระอานนท์
ข. พระอนุรุทธะ
ค. พระกิมพิละ
ง. พระสิวลี
๓๒. พระราหุล มีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าในฐานะใด ?
ก. พระโอรส
ข. พระนัดดา
ค. พระอนุชา
ง. พระเชษฐา
๓๓. พระราหุลออกบวช ที่เมืองใด ?
ก. โกลิยะ
ข. กบิลพัสดุ์
ค. ราชคฤห์
ง. พาราณสี
๓๔. พระราหุล ได้รับยกย่องว่าเป็นผูู้เลิศในด้านใด ?
ก. ให้ทาน
ข. การศึึกษา
ค. ถือธุดงค์
ง. สันโดษ
๓๕. พระเถรีองค์ใด แสดงความดีใจเมื่อบิดาอนุญาตให้บวช?
ก. กีสาโคตรมี
ข. เขมา
ค. อุบลวรรณา
ง. ปฏาจารา
๓๖. สถานที่ใด ที่พระอุบลวรรณาเถรีบรรลุเป็นพระอรหันต์ ?
ก. โรงอุโบสถ
ข. โรงอาหาร
ค. โรงแสดงธรรม
ง. โรงละคร
๓๗. พระอุบลวรรณาเถรี ได้รับยกย่องให้เป็นพระอัครสาวิกาเบื้องใด ?
ก. เบื้องขวา
ข. เบื้องซ้าย
ค. เบื้องหน้า
ง. เบื้องหลัง
๓๘. ภิกษุณีองค์ใด ได้รับยกย่องว่ามีความรู้ความชำนาญในพระวินัย ?
ก. เขมา
ข. อุบลวรรณา
ค. ปฏาจารา
ง. กีสาโคตมี
๓๙. สตรีนางใด หลงเข้าใจว่ามียารักษาคนตายให้ฟื้นได้ ?
ก. เขมา
ข. อุบลวรรณา
ค. ปฏาจารา
ง. กีสาโคตรมี
๔๐. พระกีสาโคตมีเถรี ได้รับยกย่องว่าเป็นผูู้เลิศในด้านใด ?
ก. ทรงจีวรเศร้าหมอง
ข. มีลาภ
ค. มีปัญญา
ง. มีฤทธิ์
๔๑. การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓ ตรงกับข้อใด ?
ก. มาฆบูชา
ข. วิสาขบูชา
ค. อาสาฬหบูชา
ง. อัฏฐมีบูชา
๔๒. จาตุรงคสันนิบาต เป็นเหตุการณ์เกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนใด ?
ก. เดือน ๓
ข. เดือน ๖
ค. เดือน ๘
ง. เดือน ๑๒
๔๓. การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๖ ตรงกับข้อใด ?
ก. มาฆบูชา
ข. วิสาขบูชา
ค. อาสาฬหบูชา
ง. อัฏฐมีบูชา
๔๔. พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ตรงกับวันใด ?
ก. มาฆบูชา
ข. วิสาขบูชา
ค. อัฏฐมีบูชา
ง. อาสาฬหบูชา
๔๕. วันสำคัญใด ได้รับการรับรองว่าเป็นวันสำคัญสากลของโลก ?
ก. มาฆบูชา
ข. วิสาขบูชา
ค. อัฏฐมีบูชา
ง. อาสาฬหบูชา
๔๖. วันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ตรงกับวันใด ?
ก. มาฆบูชา
ข. วิสาขบูชา
ค. อัฏฐมีบูชา
ง. อาสาฬหบูชา
๔๗. วันอัฏฐมีบูชา มีขึ้นหลังพระพุทธเจ้าปรินิพพานได้กี่วัน ?
ก. ๕ วัน
ข. ๖ วัน
ค. ๗ วัน
ง. ๘ วัน
๔๘. อาสาฬหบูชา คือการบูชาในวันเพ็ญเดือนใด ?
ก. เดือน ๓
ข. เดือน ๖
ค. เดือน ๘
ง. เดือน ๑๒
๔๙. พระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา เกิดขึ้นในวันใด ?
ก. มาฆบูชา
ข. วิสาขบูชา
ค. อัฏฐมีบูชา
ง. อาสาฬหบูชา
๕๐. เหตุการณ์ใด เกิดขึ้นในวันอาสาฬหบูชา ?
ก. ประสูติ
ข. ตรัสรู้
ค. แสดงปฐมเทศนา
ง. ปรินิพพาน
ให้เวลา ๕๐ นาที
ธรรมศึกษา ชั้นโท
ปัญหาและเฉลย วิชา อุโบสถศีล (วินัย)
ระดับมัธยมศึกษา
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๖
๑. ข้อใด เป็นวิธียกระดับจิตใจของมนุษย์ให้สูงขึ้นกว่าการถือศีล ๕ ?
ก. ถืออุโบสถ
ข. สวดมนต์
ค. มีจิตอาสา
ง. เล่นกีฬา
๒. อุโบสถศีล คือการรักษาศีลประเภทใด ?
ก. ศีล ๕
ข. ศีล ๘
ค. ศีล ๑๐
ง. ศีล ๒๒๗
๓. ข้อใด เป็นส่วนสำคัญของอุโบสถที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ ?
ก. ใส่ชุดขาว
ข. โกนผู้ม
ค. ถือสรณคมน์
ง. อดอาหาร
๔. การถืออุโบสถ บัญญัติไว้สำหรับใคร ?
ก. พระภิกษุ
ข. คนทรงเจ้า
ค. หมอดู
ง. อุบาสกอุบาสิกา
๕.ข้อใด เป็นวัตถุประสงค์ของการรักษาอุโบสถในพระพุทธศาสนา ?
ก. แก้จน
ข. แก้บ
ค. ขัดเกลากิเลส
ง. เสริมดวง
๖.อุโบสถในสมัยพุทธกาลประกอบด้วยข้อใด ?
ก. สรณะและศีล ๘
ข. อดอาหาร
ค. ทรมานตน
ง. งดกินเนื้อสัตว์
๗.ข้อใด ไม่ปรากฏในอุโบสถก่อนพุทธกาล ?
ก. อดอาหาร
ข. สรณคมน์
ค. วันรักษา
ง. พักการงาน
๘. การนับถือพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง เรียกว่าอะไร ?
ก. บรรพชา
ข. อุปสมบท
ค. ไตรสรณคมน์
ง. ลาสิกขา
๙. ใครนับถือพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง ?
ก. ชาวพุทธ
ข. อาชีวก
ค. นิครนถ์
ง. พราหมณ์
๑๐. คำว่า ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง หมายถึงรัตนะใด ?
ก. พระพุทธ
ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์
ง. ถูกทุกข้อ
๑๑. คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า คือรัตนะใด ?
ก. พระพุทธ
ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์
ง. ถูกทุกข้อ
๑๒. คำว่า ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า เปรียบเทียบกับรัตนะใด ?
ก. พระพุทธ
ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์
ง. ถูกทุกข้อ
๑๓. ข้อใด เป็นการแสดงตนว่าเป็นชาวพุทธั ?
ก. กินเจ
ข. ใส่ชุดขาว
ค. โกนผู้ม
ง. รับสรณคมน์
๑๔. สรณคมน์ของพระอริยบุคคลชั้นใดขึ้นไป ไม่ขาดตลอดชีวิต ?
ก. พระโสดาบัน
ข. พระสกทาคามี
ค. พระอนาคามี
ง. พระอรหันต์
๑๕. การนับถือพระรัตนตรัยสิ้นสุดลงเมื่อใด ?
ก. เกิด
ข. แก่
ค. เจ็บ
ง. ตาย
๑๖. ความสงสัยในพระรัตนตรัย ทำให้สรณคมน์เป็นอย่างไร ?
ก. เศร้าหมอง
ข. บริสุทธิ์
ค. มั่นคง
ง. ขาด
๑๗. ข้อใด เป็นการประพฤติไม่เอื้อเฟื้อต่อพระรัตนตรัย ?
ก. รังเกียจ
ข. ดูหมิ่น
ค. ขาดความเคารพ
ง. ถูกทุกข้อ
๑๘. อุโบสถศีลข้อที่ ๑ ผูู้รักษาต้องงดเว้นอะไร ?
ก. ฆ่าสัตว์
ข. ลักทรัพย์
ค. พูดโกหก
ง. ดื่มสุรา
๑๙. อุโบสถศีลข้อที่ ๑ ต้องการให้เห็นความสำคัญของเรื่องใด ?
ก. การเรียน
ข. การคบเพื่อน
ค. การพูด
ง. การมีชีวิต
๒๐. ผูู้รักษาอุโบสถตบยุงให้ตาย ทำผู้ิดศีลข้อใด ?
ก. ข้อที่ ๑
ข. ข้อที่ ๒
ค. ข้อที่ ๔
ง. ข้อที่ ๕
๒๑. ขโมยของเพื่อน เป็นข้อห้ามของอุโบสถศีลข้อใด ?
ก. ข้อที่ ๑
ข. ข้อที่ ๒
ค. ข้อที่ ๔
ง. ข้อที่ ๕
๒๒. อุโบสถศีลข้อที่ ๒ ผูู้รักษาต้องงดเว้นอะไร ?
ก. ลักขโมย
ข. หลอกลวง
ค. โกหกกัน
ง. ชกต่อยกัน
๒๓. อุโบสถศีลข้อที่ ๓ ผูู้รักษาต้องงดเว้นอะไร ?
ก. เล่นกีฬา
ข. มีเพศสัมพันธ์
ค. ดูดกัญชา
ง. หนีเรียน
๒๔. แม้เป็นสามีภรรยากัน เมื่อรักษาอุโบสถศีลต้องงดเว้นอะไร ?
ก. ดื่มเหล้า
ข. เล่นไพ่
ค. เล่นหวย
ง. มีเพศสัมพันธ์
๒๕. อุโบสถศีลข้อที่ ๔ ผูู้รักษาต้องงดเว้นอะไร ?
ก. ยิงนก
ข. ตกปลา
ค. พูดโกหก
ง. เล่นฟุตบอล
๒๖. ผูู้รักษาอุโบสถศีลข้อที่ ๔ ต้องไม่พูดคำใด ?
ก. คำโกหก
ข. คำยุแหย่
ค. คำหยาบ
ง. ถูกทุกข้อ
๒๗. อุโบสถศีลข้อใด ผูู้รักษาควรคิดก่อนพูด ?
ก. ข้อที่ ๑
ข. ข้อที่ ๒
ค. ข้อที่ ๔
ง. ข้อที่ ๕
๒๘. อุโบสถศีลข้อที่ ๕ ผูู้รักษาต้องงดเว้นอะไร ?
ก. อาหารมื้อเย็น
ข. ของมึนเมา
ค. เล่นดนตรี
ง. เครื่องสำอาง
๒๙. เครื่องดื่มประเภทใด ต้องงดเว้นในขณะรักษาอุโบสถศีล ?
ก. น้ำเมา
ข. น้ำหวาน
ค. น้ำอัดลม
ง. น้ำผู้ลไม้
๓๐. ในอุโบสถศีลข้อที่ ๕ กล่าวว่า อะไรเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท ?
ก. ครีมทาผิว
ข. สบู่หอม
ค. น้ำหอม
ง. ของมึนเมา
๓๑. อุโบสถศีลข้อที่ ๖ ผูู้รักษาต้องงดรับประทานอาหารมื้อใด ?
ก. เช้า
ข. ก่อนเที่ยงวัน
ค. วิกาล
ง. ถูกทุกข้อ
๓๒. เวลาหลังเที่ยงวันไปจนถึงเช้าของวันใหม่ เรียกว่าอะไร ?
ก. วินาที
ข. วิกาล
ค. นาที
ง. ชั่วโมง
๓๓. เครื่องดื่มประเภทใด อนุญาตให้ผูู้รักษาอุโบสถดื่มได้ ?
ก. น้ำเมา
ข. น้ำผึ้ง
ค. น้ำกระท่อม
ง. น้ำกัญชา
๓๔. อุโบสถศีลข้อที่ ๗ ผูู้รักษาต้องงดเว้นอะไร ?
ก. ออกกำลังกาย
ข. ทำการบ้าน
ค. ฟ้อนรำ
ง. เล่นเกมส์
๓๕. ข้อใด ไม่ใช่ข้อห้ามของอุโบสถข้อที่ ๗ ?
ก. ฟังธรรมะ
ข. ดูมหรสพ
ค. แต่งหน้าทาปาก
ง. ฉีดน้ำหอม
๓๖. อุโบสถศีลข้อที่ ๗ ขาดเพราะสาเหตุใด ?
ก. ดื่มน้ำกระท่อม
ข. ดูมหรสพ
ค. สูบกัญชา
ง. พูดเล่น
๓๗. ที่นั่งที่นอนสูงใหญ่ เป็นข้อห้ามของอุโบสถศีลข้อใด ?
ก. ข้อที่ ๒
ข. ข้อที่ ๔
ค. ข้อที่ ๖
ง. ข้อที่ ๘
๓๘. อุโบสถศีลข้อที่ ๘ ผูู้รักษาได้ฝึกตนไม่ให้ยึดติดในเรื่องใด ?
ก. ความหรูหรา
ข. ความสวยงาม
ค. การกิน
ง. การท่องเที่ยว
๓๙. การสมาทานอุโบสถศีล ควรสมาทานในเวลาใด ?
ก. เช้าตรู่
ข. หลังเที่ยงวัน
ค. บ่าย
ง. ค่ำ
๔๐. การสมาทานอุโบสถศีล ปัจจุบันนิยมสมาทานกับใคร ?
ก. พ่อแม่
ข. พระสงฆ์
ค. คนทรงเจ้า
ง. โหราจารย์
๔๑. ข้อใด มีอยู่ในพิธีรักษาอุโบสถศีล ?
ก. ถวายทาน
ข. ตักบาตร
ค. สมาทานศีล
ง. ปล่อยปลา
๔๒. ปกติอุโบสถ กำหนดให้รักษานานเท่าไร ?
ก. หนึ่งวันหนึ่งคืน
ข. ๓ วัน
ค. ๑๔ วัน
ง. ๔ เดือน
๔๓. ปฏิชาครอุโบสถ กำหนดให้รักษาคราวละกี่วัน ?
ก. ๒ วัน
ข. ๓ วัน
ค. ๗ วัน
ง. ๑๕ วัน
๔๔. ปาฏิหาริยอุโบสถ กำหนดให้รักษาต่อเนื่องนานกี่เดือน ?
ก. ๑ เดือน
ข. ๒ เดือน
ค. ๓ เดือน
ง. ๔ เดือน
๔๕. โคปาลกอุโบสถ เปรียบผูู้้รักษาอุโบสถเหมือนอะไร ?
ก. คนเลี้ยงโค
ข. คนเลี้ยงแพะ
ค. คนเลี้ยงแกะ
ง. คนเลี้ยงไก่
๔๖. นิคคัณฐอุโบสถ เป็นวิธีปฏิบัติตนของคนรักษาอุโบสถเหมือนใคร ?
ก. ฤๅษี
ข. นิครนถ์
ค. หมอดู
ง. หมอผี
๔๗. อริยอุโบสถ เป็นวิธีรักษาอุโบสถตามแบบอย่างของใคร ?
ก. พระศิวะ
ข. พระนารายณ์
ค. พระอริยะ
ง. พระพรหม
๔๘. อุโบสถใด ผู้รักษาได้รับอานิสงส์มากกว่าอุโบสถอย่างอื่น ?
ก. โคปาลกอุโบสถ
ข. นิคคัณฐอุโบสถ
ค. อริยอุโบสถ
ง. ปกติอุโบสถ
๔๙. การรักษาอุโบสถศีล จะได้รับอานิสงส์มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับอะไร ?
ก. การตั้งใจ
ข. การสวดมนต์
ค. การทำสมาธิ
ง. การให้ทาน
๕๐. การรักษาอุโบสถไม่ให้ขาดหรือด่างพร้อย ย่อมได้รับผลสูงสุดตามข้อใด ?
ก. รูปสวย
ข. รวยทรัพย์
ค. ดับทุกข์ได้
ง. ไปสวรรค์
ให้เวลา ๕๐ นาที