ธรรมศึกษา ชั้นโท
ปัญหา วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม
ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๖
อาทิ สีลํ ปติฏฺฐา จ กลฺยาณานญฺจ มาตุกํ
ปมุขํ สพฺพธมฺมานํ ตสฺมา สีลํ วิโสธเย.
ศีลเป็นที่พึ่งเบื้องต้น
เป็นมารดาของกัลยาณธรรมทั้งหลาย
เป็นประมุขของธรรมทั้งปวง
เพราะฉะนั้น ควรชำระศีลให้บริสุทธิ์.
คัมภีร์ที่มา : ขุททกนิกาย เถรคาถา
แต่งอธิบายให้สมเหตุสมผล โดยใช้สุภาษิตที่สนามหลวงแผนกธรรมกำหนดมาให้ จำนวน ๕ สุภาษิตข้างล่างนี้ มาประกอบอ้างอิงเพียง ๒ สุภาษิต และสุภาษิตที่อ้างมานั้น ควรอธิบายเชื่อมความให้สมกับเรื่องในกระทู้ตั้ง
ในชั้นนี้ กำหนดให้เขียนลงในกระดาษใบตอบตั้งแต่ ๓ หน้า (เว้นบรรทัด) ขึ้นไป
——————-
ให้เวลา ๓ ชั่วโมง
โลโภ โทโส จ โมโห จ ปุริสํ ปาปเจตสํ
หีสนฺติ อตฺตสมฺภูตา ตจสารํว สมฺผลํ.
โลภะ โทสะ โมหะ เกิดจากตัวเอง
ย่อมเบียดเบียนผู้มีใจชั่ว ดุจขุยไผ่ฆ่าต้นไผ่ฉะนั้น.
คัมภีร์ที่มา : ขุททกนิกาย อิติวุตตกะ
อนวฏฺฐิตจิตฺตสฺส สทฺธมฺมํ อวิชานโต
ปริปฺลวปสาทสฺส ปญฺญา น ปริปูรติ.
เมื่อมีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้พระสัทธรรม มีความเลื่อมใส
เลื่อนลอย ปัญญาย่อมไม่บริบูรณ์.
คัมภีร์ที่มา : ขุททกนิกาย ธรรมบท
ผนฺทนํ จปลํ จิตฺตํ ทุรกฺขํ ทุนฺนิวารยํ
อุชุํ กโรติ เมธาวี อุสุกาโรว เตชนํ.
คนมีปัญญาทำจิตที่ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยาก
ให้ตรงได้ เหมือนช่างศร ทำลูกศรให้ตรงได้ ฉะนั้น
เสโล ยถา เอกฆโน วาเตน น สมีรติ
เอวํ นินฺทาปสํสาสุ น สมิญฺชนฺติ ปณฺฑิตา.
ภูเขาหินแท่งทึบ ไม่สั่นสะเทือนเพราะลมฉันใด
บัณฑิตย่อมไม่หวั่นไหว ในนินทาและสรรเสริญฉันนั้น.
คัมภีร์ที่มา : ขุททกนิกาย ธรรมบท
สีลวา หิ พหู มิตฺเต สญฺญเมนาธิคจฺฉติ
ทุสฺสีโล ปน มิตฺเตหิ ธํสเต ปาปมาจรํ.
ผูู้มีศีล ย่อมได้มิตรมาก ด้วยความสำรวม
ส่วนผูู้ไม่มีศีล ประพฤติชั่ว ย่อมแตกจากมิตร.
คัมภีร์ที่มา : ขุททกนิกาย เถรคาถา
ธรรมศึกษา ชั้นโท
ปัญหาและเฉลย วิชา ธรรม
ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๖
๑. การเวียนว่ายตายเกิดของสัตว์ทั้งหลาย เรียกว่าอะไร ?
ก. ภูมิ
ข. สังสารวัฏ
ค. คติ
ง. ภพ
๒. พระพุทธพจน์ว่า “จิตฺเต สงฺกิลิฏฺเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา” ยืนยันเรื่องใด ?
ก. ตายแล้วเกิด
ข. ตายแล้วสูญ
ค. ตายแล้วที่น
ง. ถูกทุกข้อ
๓. คำตอบในข้อใด ไม่จัดเป็นทุคติ ?
ก. นิรยะ
ข. ดิรัจฉานโยนิ
ค. มนุษยโลก
ง. ปิตดิวิสยะ
๔. เทวทูต หมายถึงใคร ?
ก. คนแก่
ข. คนเจ็บ
ค. คนตาย
ง. ถูกทุกข้อ
๕. เทวทูต เป็นสัญญาณเตือนภัยมนุษย์ไม่ให้ประมาทในเรื่องอะไร ?
ก. การใช้ชีวิต
ข. การศึกษา
ค. การอาชีพ
ง. การครองเรือน
๖. คนที่ไม่เชื่อเรื่องนรกสวรรค์ เสี่ยงที่จะเป็นบุคคลประเภทใด ?
ก. ไม่กตัญญููกตเวที
ข. ไม่มีหิริ
ค. ไม่มีโอตตัปปะ
ง. ถูกทุกข้อ
๗. ผูู้ที่เกิดในทุคติประเภทใด จึงจะได้รับส่วนบุญที่ญาติอุทิศให้ ?
ก. นรก
ข. กำเนิดดิรัจฉาน
ค. ภูมิแห่งเปรต
ง. อสุรกาย
๘. ภูมิเป็นที่ไปเกิดของผูู้ประกอบกุศลกรรม โดยรวมเรียกว่าอะไร ?
ก. พรหมโลก
ข. สุคติ
ค. มนุษยโลก
ง. เทวโลก
๙. ท้าวสักกเทวราช สถิตในสวรรค์ชั้นใด ?
ก. ดุสิต
ข. ดาวดึงส์
ค. ยามา
ง. จาตุมหาราชิกา
๑๐. อะไรทำให้รู้ว่าดวงดาวต่างๆ หมุนรอบตัวเองใช้เวลาไม่เท่ากัน ?
ก. ไสยศาสตร์
ข. ภูมิศาสตร์
ค. โหราศาสตร์
ง. วิทยาศาสตร์
๑๑. หนึ่งวันหนึ่งคืนในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เท่ากับกี่ปีในโลกมนุษย์ ?
ก. ๑๐๐
ข. ๒๐๐
ค. ๓๐๐
ง. ๕๐๐
๑๒. ผูู้ที่บรรลุฌาน สิ้นชีวิตแล้วไปเกิดในที่ใด ?
ก. มนุษยโลก
ข. เทวโลก
ค. พรหมโลก
ง. ถูกทุกข้อ
๑๓. กรรมทันตาเห็น มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม
ข. อโหสิกรรม
ค. ครุกรรม
ง. อาสันนกรรม
๑๔. กรรมชนิดใด ให้ผู้ลสำเร็จแล้ว ?
ก. อโหสิกรรม
ข. ชนกกรรม
ค. พหุลกรรม
ง. อาสันนกรรม
๑๕. อุปฆาตกกรรม ทำหน้าที่อะไร ?
ก. แต่งให้เกิด
ข. สนับสนุน
ค. บีบคั้น
ง. ตัดรอน
๑๖. คนร้ายถูกวิสามัญฆาตกรรม จัดเป็นกรรมอะไร ?
ก. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม
ข. อโหสิกรรม
ค. ครุกรรม
ง. อาสันนกรรม
๑๗. สมถกรรมฐาน มี ๔๐ ประการ ที่เป็นหัวใจสำคัญจริง ๆ มีเท่าไหร่ ?
ก. มี ๒
ข. มี ๓
ค. มี ๔
ง. มี ๕
๑๘. การเจริญสมถกรรมฐาน เป็นอุบายทำอะไรให้สงบ ?
ก. กาย
ข. วาจา
ค. ใจ
ง. ถูกทุกข้อ
๑๙. การพิจารณาร่างกายให้เห็นว่าไม่สวยไม่งาม เป็นการเจริญกรรมฐานใด ?
ก. กายคตาสติ
ข. เมตตา
ค. พุทธานุสสติ
ง. กสิณ
๒๐. บริกรรมว่า ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงเป็นผูู้ไม่มีเวร เป็นกรรมฐานใด ?
ก. กายคตาสติ
ข. เมตตา
ค. พุทธานุสสติ
ง. กสิณ
๒๑. การบริกรรมบทว่า พุทฺโธ เป็นการเจริญกรรมฐานใด ?
ก. กายคตาสติ
ข. เมตตา
ค. พุทธานุสสติ
ง. กสิณ
๒๒. สีใด ไม่จัดเป็นกสิณ ?
ก. สีเหลือง
ข. สีแดง
ค. สีขาว
ง. สีดำ
๒๓. จตุธาตุววัตถาน เป็นการพิจารณาร่างกายโดยอาการอย่างไร ?
ก. ไม่สวยงาม
ข. เป็นเพียงธาตุ ๔
ค. เป็นสิ่งน่ากลัว
ง. เป็นสิ่งปฏิกูล
๒๔. จะแก้ความฟุ้งซ่าน ควรเจริญกรรมฐานใด ?
ก. กายคตาสติ
ข. เมตตา
ค. พุทธานุสสติ
ง. กสิณ
๒๕. การเจริญเมตตา แก้นิวรณ์ใด ?
ก. กามฉัันทะ
ข. พยาบาท
ค. ถีนมิทธะ
ง. อุทธััจจกุกกุจจะ
๒๖. การพิจารณาความตายบ่อย ๆ เป็นอุบายบรรเทาความประมาทในอะไร ?
ก. วัย
ข. ความไม่มีโรค
ค. ชีวิต
ง. ความเศร้าโศก
๒๗. กำหนดพิจารณาอะไร จัดเป็นจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน ?
ก. สุข
ข. ทุกข์
ค. กุศล
ง. จิต
๒๘. การเจริญสติปัฏฐาน เหมาะกับคนวัยใด ?
ก. วัยรู้เดียงสา
ข. วัยกลางคน
ค. วัยชรา
ง. ถูกทุกข้อ
๒๙. พิจารณาอะไรเป็นอารมณ์ จัดเป็นอสุภกัมมัฏฐาน ?
ก. ผิวหนัง
ข. ร่างกาย
ค. ซากศพ
ง. อาหารบูด
๓๐. การพิจารณาถึงศีลของตนที่บริสุทธิ์ไม่ด่างพร้อย จัดเป็นอนุสสติใด ?
ก. ธััมมานุสสติ
ข. สีลานุสสติ
ค. จาคานุสสติ
ง. มรณัสสติ
๓๑. การน้อมจิตระลึกถึงทานที่ตนได้บริจาคแล้ว จัดเป็นอนุสสติใด ?
ก. สีลานุสสติ
ข. จาคานุสสติ
ค. เทวตานุสสติ
ง. อุปสมานุสสติ
๓๒. การระลึกถึงคุณธรรมที่ทำบุคคลให้เป็นเทวดา จัดเป็นอนุสสติใด ?
ก. สีลานุสสติ
ข. จาคานุสสติ
ค. เทวตานุสสติ
ง. อุปสมานุสสติ
๓๓. การเจริญเมตตาพรหมวิหาร ท่านสอนให้เริ่มที่ใครก่อน ?
ก. ตนเอง
ข. พ่อแม่
ค. ครูอาจารย์
ง. สรรพสัตว์
๓๔. การพิจารณาอาหารโดยอาการใด ไม่เป็นอาหารปฏิกูลสัญญา ?
ก. การแสวงหา
ข. การปรุงรส
ค. การขับถ่าย
ง. การบริโภค
๓๕. ข้อใด ไม่จัดเป็นปฐวีธาตุ ?
ก. น้ำตา
ข. กระดูก
ค. ฟัน
ง. หนัง
๓๖. คนติดสวยติดงาม จัดเป็นคนจริตใด ?
ก. ราคจริต
ข. โทสจริต
ค. โมหจริต
ง. สัทธาจริต
๓๗. คนติดสวยติดงาม ควรเจริญกรรมฐานใด ?
ก. อสุภะ
ข. กสิณ
ค. พรหมวิหาร
ง. ภูตกสิณ
๓๘. คนนิสัยฉุนเฉียวโกรธัง่าย จัดเป็นคนจริตใด ?
ก. ราคจริต
ข. โทสจริต
ค. โมหจริต
ง. สัทธาจริต
๓๙. คนนิสัยฉุนเฉียวโกรธง่าย ควรเจริญกรรมฐานใด ?
ก. อสุภะ
ข. กายคตาสติ
ค. พรหมวิหาร
ง. ภูตกสิณ
๔๐. คนเชื่อง่ายมักคล้อยตามคนอื่น จัดเป็นคนจริตใด ?
ก. ราคจริต
ข. โทสจริต
ค. โมหจริต
ง. สัทธาจริต
๔๑. คนเชื่อง่ายมักคล้อยตามคนอื่น ควรเจริญกรรมฐานใด ?
ก. อสุภะ
ข. อานาปานสติ
ค. กายคตาสติ
ง. พรหมวิหาร
๔๒. ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง เป็นความหมายของพุทธัคุณบทใด ?
ก. อรหํ
ข. สมฺมาสมฺพุทฺโธ
ค. วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน
ง. สุคโต
๔๓. พระพุทธคุณบทใด ยืนยันว่าพระพุทธเจ้าทรงเป็นพระบรมครู ?
ก. อรหํ
ข. สุคโต
ค. สตฺถา เทวมนุสฺสานํ
ง. ภควา
๔๔. ความรู้คู่คุณธรรม เป็นความหมายของพุทธคุณบทใด ?
ก. อรหํ
ข. สมฺมาสมฺพุทฺโธ
ค. วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน
ง. สุคโต
๔๕. ผูู้เจริญวิปัสสนา ต้องมีอะไรเป็นพื้นฐาน ?
ก. เบญจศีล
ข. เบญจธรรม
ค. หิริโอตตัปปะ
ง. ศีลและสมาธิ
๔๖. วิปัสสนูปกิเลสที่ทำให้สำคัญตนว่าบรรลุมรรคผู้ล คือข้อใด ?
ก. ญาณ
ข. ปีติ
ค. สุข
ง. ถูกทุกข้อ
๔๗. ข้อใดไม่มีในกรรมกิเลส ๔ ?
ก. ปาณาติบาต
ข. อทินนาทาน
ค. มุสาวาท
ง. สุราเมรัย
๔๘. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จัดเข้าในทิฏฐธััมมิกัตถประโยชน์ข้อใด ?
ก. อุฏฐานสัมปทา
ข. อารักขสัมปทา
ค. สมชีวิตา
ง. ถูกทุกข้อ
๔๙. โครงการจิตอาสา จัดเข้าในสังคหวัตถุข้อใด ?
ก. ทาน
ข. ปิยวาจา
ค. อัตถจริยา
ง. สมานัตตตา
๕๐. วางตนเหมาะสม ตรงกับสังคหวัตถุข้อใด ?
ก. ทาน
ข. ปิยวาจา
ค. อัตถจริยา
ง. สมานัตตตา
ให้เวลา ๕๐ นาที
ธรรมศึกษา ชั้นโท
ปัญหาและเฉลย วิชา พุทธประวัติ
ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๖
๑. ระหว่างทางเสด็จไปป่าอิสิปตนมฤคทายวัน พระพุทธเจ้าทรงพบใคร ?
ก. พาณิช ๒ พี่น้อง
ข. อุปกชีวก
ค. ยสกุลบุตร
ง. ปิปผลิมาณพ
๒. ชนกลุ่มใด ที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ?
ก. ยสกุลบุตร
ข. ปัญจวัคคีย์
ค. ภัททวัคคีย์
ง. ชฎิล ๓ พี่น้อง
๓. “เราได้ตรัสรู้อมฤตธรรมโดยชอบเองแล้ว” พระพุทธเจ้าตรัสกับใคร ?
ก. ปัญจวัคคีย์
ข. ภัททวัคคีย์
ค. ยสกุลบุตร
ง. ปิปผลิมาณพ
๔. กามสุขัลลิกานุโยค คือการหมกมุ่นในความสุขเรื่องใด ?
ก. สมาธิ
ข. วิเวก
ค. วิปัสสนา
ง. กาม
๕. การแสดงธรรมครั้งแรกของพระพุทธเจ้า เรียกว่าอะไร ?
ก. ปฐมเทศนา
ข. ทุติยเทศนา
ค. ตติยเทศนา
ง. จตุตถเทศนา
๖. พระพุทธเจ้าตรัสถึงทุกข์ว่าเป็นสิ่งที่ควรทำอย่างไร ?
ก. กำหนดรู้
ข. กำหนดละ
ค. ทำให้แจ้ง
ง. ทำให้มีขึ้น
๗. ขณะฟังปฐมเทศนา ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดขึ้นแก่ฤๅษีท่านใด ?
ก. โกณฑัญญะ
ข. วัปปะ
ค. ภัททิยะ
ง. มหานามะ
๘. ปัญจวัคคีย์ขอบวชเป็นพระภิกษุ ขณะเป็นพระอริยบุคคลชั้นใด ?
ก. โสดาบัน
ข. สกทาคามี
ค. อนาคามี
ง. อรหันต์
๙. สิ่งใด ในอนัตตลักขณสูตรที่ทรงแสดงว่าเป็นอนัตตา ?
ก. ศีล ๕
ข. อินทรีย์ ๕
ค. ข้ันธ์ ๕
ง. กามคุณ ๕
๑๐. ขณะฟังอนัตตลักขณสูตร พระปัญจวัคคีย์เป็นพระอริยบุคคลชั้นใด ?
ก. โสดาบัน
ข. สกทาคามี
ค. อนาคามี
ง. อรหันต์
๑๑. “ที่นี่วุ่นวายหนอ ที่นี่ขัดข้องหนอ” เป็นคำพูดของใคร ?
ก. อุปกาชีวก
ข. ยสกุลบุตร
ค. บิดายสกุลบุตร
ง. มารดายสกุลบุตร
๑๒. “ที่นี่ไม่วุ่นวาย ที่นี่ไม่ขัดข้อง” พระพุทธเจ้าตรัสกับใคร ?
ก. อุปกาชีวก
ข. มารดายสกุลบุตร
ค. บิดายสกุลบุตร
ง. ยสกุลบุตร
๑๓. ข้อใด ที่เตวาจิกอุบาสกถือเป็นสรณะตลอดชีวิต ?
ก. ไตรรัตน์
ข. ไตรลักษณ์
ค. ไตรสิกขา
ง. ไตรทวาร
๑๔. ใครเป็นอุบาสกผูู้ถึงพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งคนแรก ?
ก. พาณิชสองพี่น้อง
ข. อุปกาชีวก
ค. บิดายสกุลบุตร
ง. ยสกุลบุตร
๑๕. สหายพระยสะที่ปรากฏชื่อมีกี่คน ?
ก. ๑ คน
ข. ๒ คน
ค. ๓ คน
ง. ๔ คน
๑๖. พระสาวกชุดแรกที่พระพุทธเจ้าส่งไปประกาศพระศาสนา มีกี่องค์ ?
ก. ๕ องค์
ข. ๕๐ องค์
ค. ๖๐ องค์
ง. ๖๑ องค์
๑๗. “พวกเธอจะแสวงหาหญิงหรือตนดีกว่า” พระพุทธเจ้าตรัสกับใคร ?
ก. ปัญจวัคคีย์
ข. ภัททวัคคีย์
ค. ยสกุลบุตร
ง. ปิปผลิมาณพ
๑๘. ที่ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม พระพุทธเจ้าแสดงธรรมโปรดชนกลุ่มใด ?
ก. ปัญจวัคคีย์
ข. ยสะและสหาย
ค. ภัททวัคคีย์
ง. ชฎิิล ๓ พี่น้อง
๑๙. พระเจ้าพิมพิสารเสด็จมาพบพระพุทธเจ้าครั้งแรก ณ สถานที่ใด ?
ก. สวนไผ่
ข. สวนตาลหนุ่ม
ค. สวนเจ้าเชตุ
ง. สวนลุมพินี
๒๐. พระราชอุทยานใด ที่พระเจ้าพิมพิสารถวายให้เป็นอาราม ?
ก. อิสิปตนมฤคทายวัน
ข. เชตะวัน
ค. ลัฏฐิวัน
ง. เวฬุวัน
๒๑. การสร้างวัดเกิดขึ้นครั้งแรก ในสมัยกษัตริย์พระองค์ใด ?
ก. สุทโธทนะ
ข. พิมพิสาร
ค. จัณฑปัชโชต
ง. อชาตศัตรู
๒๒. อุปติสสมาณพ เกิดในวรรณะใด ?
ก. กษัตริย์
ข. พราหมณ์
ค. แพศย์
ง. ศูทร
๒๓. มาณพใด เป็นเพื่อนสนิทของอุปติสสมาณพ ?
ก. โกลิตะ
ข. ยสะ
ค. สุพาหุ
ง. ควัมปติ
๒๔. อุปติสสมาณพ บวชเป็นปริพาชกในสำนักอาจารย์ใด ?
ก. ปูรณกัสสปะ
ข. มักขลิโคสาล
ค. สัญชัยเวลัฏฐบุตร
ง. อชิตเกสกัมพล
๒๕. อุปติสสมาณพ พบกับพระอัสสชิในขณะที่ท่านกำลังทำกิจวัตรใด ?
ก. บิณฑบาต
ข. สวดมนต์
ค. กวาดวิหาร
ง. ลงอุโบสถ
๒๖. ผู้ลการฟังธรรมจากพระอัสสชิ อุปติสสปริพาชกได้บรรลุผู้ลใด ?
ก. โสดาปัตติผล
ข. สกทาคามิผล
ค. อนาคามิผล
ง. อรหัตตผล
๒๗. พระสารีบุตรบรรลุเป็นพระอรหันต์ ณ สถานที่ใด ?
ก. กูฏาคารบรรพต
ข. ถ้ำสัตตบรรณ
ค. ถ้ำสุกรขาตา
ง. เวภารบรรพต
๒๘. พระพุทธเจ้า แสดงอุบายแก้ง่วงให้แก่พระเถระใด ?
ก. พระอัสสชิ
ข. พระยสะ
ค. พระโมคคัลลานะ
ง. พระสารีบุตร
๒๙. นักบวชลัทธิใด ว่าจ้างให้โจรไปประทุษร้ายพระโมคคัลลานะ ?
ก. เดียรถีย์
ข. นิครนถ์
ค. ปริพาชก
ง. ฤาษี
๓๐. พระโมคคัลลานะนิพพาน ณ สถานที่ใด ?
ก. เวภารบรรพต
ข. กาฬศึิลา
ค. ถ้ำสัตตบรรณ
ง. ถ้ำสุกรขาตา
๓๑. พระโมคคัลลานะ ได้รับยกย่องว่าเป็นผูู้เลิศในด้านใด ?
ก. ทรงธุดงค์
ข. มีบริวารมาก
ค. มีปัญญามาก
ง. มีฤทธิ์มาก
๓๒. พราหมณ์ใด ส่งลูกศิษย์ ๑๖ คน ไปทูลถามปัญหากับพระพุทธเจ้า ?
ก. โกณฑัญญะ
ข. พาวรี
ค. วังคันตะ
ง. วังคีสะ
๓๓. ปิงคิยมาณพ ไม่ได้บรรลุอรหัตผู้ลเพราะระลึกถึงใคร ?
ก. บิดา
ข. มารดา
ค. อาจารย์
ง. สหาย
๓๔. สิ่งใด ที่ราธพราหมณ์ได้เคยถวายแก่พระสารีบุตร ?
ก. อาหาร
ข. บาตร
ค. จีวร
ง. ธรรมกรก
๓๕. คุณธรรมใด ของพระสารีบุตรที่ควรถือเป็นแบบอย่าง ?
ก. หิริ
ข. โอตตัปปะ
ค. วิริยะ
ง. กตัญญููกตเวที
๓๖. พระพุทธเจ้าตรัสให้ถือเอาพระราธะเป็นแบบอย่าง ในเรื่องใด ?
ก. ว่าง่าย
ข. เลี้ยงง่าย
ค. อยู่ง่าย
ง. มักง่าย
๓๗. พระราธะได้รับยกย่องว่าเป็นผู้เลิศในด้านใด ?
ก. มีฤทธิ์
ข. มีลาภ
ค. มีบริวาร
ง. มีปฏิภาณณ
๓๘. พระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดปุณณมาณพ ที่เมืองใด ?
ก. เทวทหะ
ข. กบิลพัสดุ์
ค. ราชคฤห์
ง. พาราณสี
๓๙. ปุณณมาณพเกี่ยวข้องกับพระอัญญาโกณฑัญญะในฐานะใด ?
ก. เป็นลูก
ข. เป็นหลาน
ค. เป็นน้อง
ง. เป็นเหลน
๔๐. พระปุณณมันตานีบุตร ได้บรรลุเป็นพระอริยบุคคลชั้นใด ?
ก. โสดาบัน
ข. สกทาคามี
ค. อนาคามี
ง. อรหันต์
๔๑. การเจริญพระพุทธมนต์ มีมาตั้งแต่สมัยใด ?
ก. ก่อนพุทธกาล
ข. พุทธกาล
ค. สุโขทัย
ง. อยุธยา
๔๒. การเจริญพระพุทธมนต์ มีขึ้นครั้งแรกที่เมืองใด ?
ก. ไพสาลี
ข. อุชเชนี
ค. สาวัตถี
ง. พาราณสี
๔๓. พระเถระองค์ใด ประพรมน้ำพระพุทธมนต์เป็นองค์แรก ?
ก. พระสิวลี
ข. พระอานนท์
ค. พระอนุรุทธะ
ง. พระนันทะ
๔๔. การเจริญพระพุทธมนต์ มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร ?
ก. ป้องกันทุกข์
ข. ป้องกันภัย
ค. ป้องกันโรค
ง. ถูกทุกข้อ
๔๕. การเจริญพระพุทธมนต์ นิยมใช้ในงานทำบุญประเภทใด ?
ก. ฌาปนกิจ
ข. เก็บอัฐิ
ค. แปรธาตุ
ง. ฉลองอายุ
๔๖. การสวดพระอภิธรรม นิยมสวดในงานใด ?
ก. บำเพ็ญกุศลศพ
ข. มงคลสมรส
ค. ขึ้นบ้านใหม่
ง. ทำบุญอายุ
๔๗. สัตตมวารคือการบำเพ็ญกุศลครบกี่วัน ?
ก. ๕ วัน
ข. ๗ วัน
ค. ๕๐ วัน
ง. ๑๐๐ วัน
๔๘. การฌาปนกิจ หมายถึงข้อใด ?
ก. เผาศพ
ข. ทอดผ้าบังสุกุล
ค. เก็บอัฐิ
ง. ทำบุญอัฐิ
๔๙. ก่อนพิธีฌาปนกิจ นิยมสวดบทใด ?
ก. อภิธรรม
ข. มาติกา
ค. กรณียสูตร
ง. กามสูตร
๕๐. พิธีสามหาบ จัดให้มีในงานทำบุญประเภทใด ?
ก. แต่งงาน
ข. ขึ้นบ้านใหม่
ค. ฌาปนกิจศพ
ง. เก็บอัฐิ
ให้เวลา ๕๐ นาที
ธรรมศึกษา ชั้นโท
ปัญหาและเฉลย วิชาเบญจศีลเบญจธรรม (วินัย)
ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป
สอบในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๖
๑. ข้อปฏิบัติในทางพระพุทธศาสนาที่เรียกว่า พรต ได้แก่ข้อใด ?
ก. เบญจศีล
ข. เบญจธรรม
ค. อุโบสถ
ง. กรรมบถ
๒. ข้อใด เป็นการฝึกใช้ชีวิตแบบสันโดษเรียบง่ายไม่ฟุ้งเฟ้อ ?
ก. แต่งชุดขาว
ข. โกนผู้ม
ค. ทำงานอดิเรก
ง. รักษาอุโบสถ
๓. ข้อใด เป็นวิธีรักษาอุโบสถในอรรถกถาคังคมาลชาดก ?
ก. ถือศีล ๘
ข. ถือสรณคมน์
ค. งดอาหาร
ง. ทรมานตน
๔. การรักษาอุโบสถของชาวพุทธ เริ่มมีมาตั้งแต่เมื่อใด ?
ก. ก่อนพุทธกาล
ข. สมัยพุทธกาล
ค. หลังพุทธกาล
ง. กึ่งพุทธกาล
๕. อุโบสถที่เป็นพุทธบัญญัติต่างจากอุโบสถที่มีมาก่อนอย่างไร ?
ก. วันรักษา
ข. ฟังธรรม
ค. งดอาหาร
ง. ถือสรณคมน์
๖. ศีลใด เป็นส่วนประกอบของอุโบสถที่เป็นพุทธบัญญัติ ?
ก. ศีล ๕
ข. ศีล ๘
ค. ศีล ๑๐
ง. ศีล ๒๒๗
๗. อุโบสถศีล พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้รักษาในวันใด ?
ก. ๘ ค่ำ
ข. ๑๔ ค่ำ
ค. ๑๕ ค่ำ
ง. ถูกทุกข้อ
๘. ชาวพุทธัควรถืออะไร เป็นสรณะที่พึ่งอันสูงสุด ?
ก. พระรัตนตรัย
ข. ศาลพระภูมิ
ค. พระเครื่อง
ง. พระราหู
๙. ข้อใด เป็นวัตถุประสงค์ของการถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ?
ก. เพื่อเป็นที่พึ่ง
ข. เพื่อให้โชค
ค. เพื่อขมากรรม
ง. เพื่อแก้กรรม
๑๐. ข้อใด ไม่ใช่สรณะของชาวพุทธ ?
ก. พระพุทธ
ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์
ง. พระราหู
๑๑. พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ยอมรับนับถือรัตนะใดเป็นที่พึ่ง ?
ก. พระพุทธ
ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์
ง. ถูกทุกข้อ
๑๒. ชาวพุทธยึดมั่นอยู่ในรัตนะใด จึงไม่ตกไปในที่ชั่ว ?
ก. พระพุทธ
ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์
ง. ถูกทุกข้อ
๑๓. ความจริงของกฎธรรมชาติที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบ คืออะไร ?
ก. แร่ทองคำ
ข. ม้ากัณฐกะ
ค. ต้นศรีมหาโพธ์ิ
ง. พระธรรม
๑๔. ใครนำคำสอนที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบมาประกาศแก่ชาวโลก ?
ก. อุบาสกอุบาสิกา
ข. พระสงฆ์
ค. โหราจารย์
ง. พราหมณ์
๑๕. บุญกุศลที่เราทำแก่ใคร ชื่อว่าได้ทำนาบุญไว้ในโลก ?
ก. พระพุทธเจ้า
ข. พระอินทร์
ค. พระสงฆ์
ง. มารดาบิดา
๑๖. เพราะเหตุใด การตายจึงทำให้การถือสรณคมน์ขาด ?
ก. สิ้นกิเลส
ข. สิ้นภพชาติ
ค. สิ้นคิด
ง. สิ้นวาสนานวาสนา
๑๗. ไตรสรณคมน์ หมายถึง การถือสรณคมน์กี่ประการ ?
ก. ๑ ประการ
ข. ๒ ประการ
ค. ๓ ประการ
ง. ๗ ประการ
๑๘. สรณคมน์ของคนเล่นไสยศาสตร์มนต์ดำจะเป็นเช่นไร ?
ก. เศร้าหมอง
ข. ผ่องใส
ค. มั่นคง
ง. ขาด
๑๙. ผูู้ท้วงติงหลักธรรมที่แสดงไม่ถูกต้อง สรณคมน์จะเป็นเช่นไร ?
ก. ขาด
ข. เศร้าหมอง
ค. ด่างพร้อย
ง. ไร้มลทิน
๒๐. อุโบสถศีลข้อที่ ๑ ผูู้รักษาต้องงดเว้นการกระทำใด ?
ก. ฆ่ายุง
ข. ขโมยรองเท้า
ค. เสพกาม
ง. พูดปด
๒๑. อุโบสถศีลข้อที่ ๒ ผูู้รักษาต้องงดเว้นการกระทำใด ?
ก. เสริมสวย
ข. ลักทรัพย์
ค. ดูดวง
ง. นินทาคนอื่น
๒๒. อุโบสถศีลข้อที่ ๓ ผูู้รักษาต้องงดเว้นการกระทำใด ?
ก. เล่าเรื่องลูก
ข. ผูกอาฆาต
ค. เสพกาม
ง. ให้ร้ายคนอื่น
๒๓. อุโบสถศีลข้อที่ ๔ ผูู้รักษาต้องระมัดระวังเรื่องใด ?
ก. การพูด
ข. การกิน
ค. การแต่งตัว
ง. การนั่งนอน
๒๔. อุโบสถศีลข้อที่ ๔ นอกจากงดพูดโกหกแล้ว ต้องระวังเรื่องใด ?
ก. ขโมยทอง
ข. พูดคำหยาบ
ค. ดูมหรสพ
ง. รำวง
๒๕. อุโบสถศีลข้อที่ ๔ ผูู้รักษาควรพูดแต่คำเช่นใด ?
ก. คำปด
ข. คำหยาบ
ค. คำพร่ำเพรื่อ
ง. คำจริง
๒๖. ผูู้รักษาอุโบสถศีล ต้องงดเว้นยาประเภทใด ?
ก. ยาดองเหล้า
ข. ยาแก้ปวด
ค. ยาอายุวัฒนะ
ง. ยาสมุนไพร
๒๗. เครื่องดื่มประเภทใด อนุญาตให้ผูู้รักษาอุโบสถศีลดื่มได้ ?
ก. น้ำกระท่อม
ข. น้ำกระแช่
ค. น้ำสาโท
ง. น้ำขิง
๒๘. ในอุโบสถศีลข้อที่ ๕ อะไรเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท ?
ก. เงินทอง
ข. สุราเมรัย
ค. เครื่องประดับ
ง. ที่นั่งที่นอน
๒๙. อุโบสถศีลข้อที่ ๖ ผูู้รักษาควรระวังเรื่องใด ?
ก. การกิน
ข. การนั่ง
ค. การนอน
ง. การพูด
๓๐. ยามวิกาล ผูู้รักษาอุโบสถศีลต้องงดเว้นอะไร ?
ก. เสพกาม
ข. อาหาร
ค. นอนดึก
ง. เที่ยวกลางคืน
๓๑. ของหอม เครื่องย้อม เครื่องทา เป็นข้อห้ามของอุโบสถศีลข้อใด ?
ก. ข้อที่ ๕
ข. ข้อที่ ๖
ค. ข้อที่ ๗
ง. ข้อที่ ๘
๓๒. ในอุโบสถศีลข้อที่ ๗ อะไรเป็นข้าศึกต่อบุญกุศล ?
ก. ฟ้อนรำ
ข. นอนเตียงสูง
ค. สุราเมรัย
ง. เครื่องประดับ
๓๓. อุโบสถศีลข้อที่ ๗ ผูู้รักษาต้องงดเว้นเรื่องใด ?
ก. แต่งหน้า
ข. ทาปาก
ค. ใช้เครื่องสำอาง
ง. ถูกทุกข้อ
๓๔. ในอุโบสถศีลข้อที่ ๗ อนุญาตให้ทาแป้งได้ในกรณีใด ?
ก. ระงับกลิ่นกาย
ข. บำรุงผิว
ค. เพิ่มกลิ่นหอม
ง. เสริมความงาม
๓๕. อุโบสถศีลข้อที่ ๗ ขาดเพราะสาเหตุใด ?
ก. ดื่มกาแฟ
ข. ดูมหรสพ
ค. สูบบุหรี่
ง. พูดคำหยาบ
๓๖. เครื่องปูลาดอันวิจิตรงดงาม เป็นข้อห้ามของอุโบสถศีลข้อใด ?
ก. ข้อที่ ๕
ข. ข้อที่ ๖
ค. ข้อที่ ๗
ง. ข้อที่ ๘
๓๗. เพราะเหตุใด จึงห้ามผูู้รักษาอุโบสถนั่งนอนบนที่นั่งที่นอนสูงใหญ่ ?
ก. ขนย้ายลำบาก
ข. ราคาแพง
ค. ยึดติดในสุข
ง. ไม่ปลอดภัย
๓๘. อุโบสถประเภทใด นิยมสมาทานรักษาในวันพระ ?
ก. ปักติอุโบสถ
ข. ปฏิชาครอุโบสถ
ค. ปาฏิหาริยอุโบสถ
ง. ถูกทุกข้อ
๓๙. อุโบสถประเภทใด มีวันรับ วันรักษา และวันส่ง ?
ก. ปกติอุโบสถ
ข. ปฏิชาครอุโบสถ
ค. ปาฏิหาริยอุโบสถ
ง. ถูกทุกข้อ
๔๐. อุโบสถศีล กำหนดให้เริ่มสมาทานในเวลาใด ?
ก. เช้า
ข. สาย
ค. บ่าย
ง. ค่ำ
๔๑. ปัจจุบันนิยมสมาทานอุโบสถศีลในสถานที่ใด ?
ก. บ้าน
ข. วัด
ค. ศาลเจ้า
ง. ศูนย์การค้า
๔๒. ข้อใด อยู่ในขั้นตอนพิธีรักษาอุโบสถ ?
ก. ประกาศอุโบสถ
ข. สวดมนต์
ค. ฟังเทศน์
ง. นั่งสมาธิ
๔๓. ข้อใด เป็นขั้นตอนแรกของพิธีรักษาอุโบสถ ?
ก. ประกาศอุโบสถ
ข. บูชาพระรัตนตรัย
ค. ขอศีล
ง. รับศีล
๔๔. พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ อยู่ในขั้นตอนใด ของพิธีรักษาอุโบสถ ?
ก. บูชาพระรัตนตรัย
ข. ขอศีล
ค. รับสรณคมน์
ง. รับศีล
๔๕. พระสงฆ์กล่าวว่า สีเลน สุคตึ ยนฺติ หมายถึงข้อใด ?
ก. บอกอานิสงส์ศีล
ข. ขอศีล
ค. รับศีล
ง. ลาศีล
๔๖. อุโบสถประเภทใด ถ้าไม่ตั้งใจรักษาก็เปรียบเหมือนคนรับจ้างเลี้ยงโค ?
ก. โคปาลกอุโบสถ
ข. นิคคัณฐอุโบสถ
ค. อริยอุโบสถ
ง. ถูกทุกข้อ
๔๗. อุโบสถประเภทใด เลือกรักษาบางข้อเว้นบางข้อเหมือนพวกนิครนถ์ ?
ก. ปกติอุโบสถ
ข. นิคคัณฐอุโบสถ
ค. อริยอุโบสถ
ง. ถูกทุกข้อ
๔๘. รักษาอุโบสถอย่างไร จึงจะได้รับผู้ลานิสงส์มาก ?
ก. รักษาวันพระ
ข. รับศีลกับพระ
ค. ตั้งใจรักษา
ง. รักษาที่วัด
๔๙. การรักษาอุโบสถศีล ส่งเสริมให้ผูู้รักษาไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเรื่องใด ?
ก. อาหาร
ข. ยารักษาโรค
ค. เครื่องสำอาง
ง. เครื่องนุ่งห่ม
๕๐. การรักษาอุโบสถ มีผู้ลทำให้ผูู้รักษาเป็นคนเช่นไร ?
ก. มีชีวิตสันโดษ
ข. เคร่งครัด
ค. เจ้าระเบียบ
ง. ปล่อยวาง
ให้เวลา ๕๐ นาที